ผลการเสริมสร้างการคิดเชิงบริหารของเด็กอนุบาลโดยใช้กระบวนการวางแผน ปฏิบัติ และทบทวนตามแนวคิดไฮสโคป
คำสำคัญ:
การคิดเชิงบริหาร, กระบวนการวางแผน-ปฏิบัติ-ทบทวน, หลักสูตรไฮสโคป, เด็กอนุบาลบทคัดย่อ
การวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบการคิดเชิงบริหารของเด็กอนุบาลก่อนและหลังการจัดกระบวนการวางแผน ปฏิบัติ และทบทวนตามแนวคิดไฮสโคป กลุ่มตัวอย่างคือเด็กอนุบาล อายุ 5-6 ปี โรงเรียนอนุบาลวัดพิชัยสงคราม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 30 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบแบ่งกลุ่มโดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยสุ่ม เครื่องมือที่ใช้ได้แก่แผนการจัดประสบการณ์กระบวนการวางแผน ปฏิบัติ และทบทวนตามแนวคิดไฮสโคป และแบบประเมินการคิดเชิงบริหารของเด็กอนุบาล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบที (t-test) ผลการวิจัย พบว่า 1. เด็กอนุบาลมีทักษะการคิดเชิงบริหารก่อนการทดลองอยู่ในระดับควรส่งเสริม หลังการทดลองอยู่ในระดับดี และ 2. เด็กอนุบาลมีทักษะการคิดเชิงบริหารหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการวิจัยนี้สนับสนุนว่ากระบวนการวางแผน ปฏิบัติ และทบทวนตามแนวคิดไฮสโคปสามารถนำไปใช้เสริมสร้างการคิดเชิงบริหารสำหรับเด็กอนุบาลได้References
จิระพร ชะโน. (2562). การคิดเชิงบริหารกับการพัฒนาเด็กปฐมวัย Executive Functions and Early Childhood Development. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 13(1), 8-17.
ชไมมน ศรีสุรักษ์. (2540). การศึกษาความสัมพันธ์ทางสังคมของเด็กปฐมวัยที่ได้รับ การจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ เป็นกลุ่มแบบวางแผน ปฏิบัติ ทบทวน และแบบปกติ. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาการศึกษาปฐมวัย, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ชาติชาย ปิลวาสน์. (2544). การศึกษาความสามารถในการแก้ปัญหาของเด็กปฐมวัยโดยใช้กระบวนการ วางแผน ปฏิบัติ ทบทวน.ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาการศึกษาปฐมวัย, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
นวลจันทร์ จุฑาภักดีกุล. (2559). การพัฒนาสมองเชิงบริหาร(EF). ในเอกสารประกอบการอบรมหลักสูตร “Thinking Child ในยุคดิจิตอล”โครงการพัฒนาผู้บริหารและผู้เกี่ยวข้องกับการศึกษาระดับปฐมวัย รุ่นที่ 8. วันที่ 3 กรกฎาคม 2559 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
นวลจันทร์ จุฑาภักดีกุล. (2560). การพัฒนาและหาค่าเกณฑ์มาตรฐานเครื่องมือประเมินการคิดเชิงบริหารในเด็กปฐมวัย. นครปฐม: ศูนย์วิจัยประสาทวิทยาศาสตร์ สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล.
ประอร อิศรเสนา. (2542). การสอนแบบไฮสโคป. วารสารการศึกษาปฐมวัย. 3(1), 18–30.
พัชรี ผลโยธิน และคณะ. (2550). การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยไทย: ตามแนวคิดไฮสโคป. กรุงเทพ: วี.ที.ซี. คอมมิวนิเคชั่น.
พีรวิชญ์ พาณิชย์วรกุล และเด่น ชะเนติยัง. (2562). การพัฒนารูปแบบการบริหารโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา สำหรับศตวรรษที่ 21. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. 30 (3), 185-198.
ภัทราดา เอี่ยมบุญญฤทธิ์, ชลธิชา ภูริปาณิก และฐิติชัย รักบำรุง (2563). การสอนอ่านเชิงวิเคราะห์ผ่านกระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของเด็กไทยยุค Gen Z. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. 31(3), 1-11.
วิจารณ์ พานิช. (2556). วิธีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ. ตถาตาพับบลิเคชัน.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2561). คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 (สำหรับเด็กอายุ 3-6 ปี). กรุงเทพฯ: สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
สุภาวดี หาญเมธี และ คณะ. (2561). คู่มือพัฒนาทักษะสมอง EF Executive Functions สำหรับครู ปฐมวัย. กรุงเทพมหานคร: เอกพิมพ์ไท.
Burry, S., & Judith, O. (1996). Rater agreement indexes for performance assessment. Educational and Psychological Measurement. 56(2): 256.
Center on the Developing Child at Harvard University. (2011). Building the brain’s “air traffic control” system: How early experiences shape the development of Executive Function: Working paper No. 11. Retrieved from http://www.developingchild.harvard.edu.
Dawson, P., & Guare, R. (2014). “Interventions to promote executive development in children and adolescents.” In Handbook of Executive Functioning, pp. 427-443. New York: Springer.
Yang, O.S. (1985). The effect of verbal plan and review training on preschool reflectivity. Dissertation Abstracts International. Retrieved from https://eric.ed.gov/?id=ED277489.
ชไมมน ศรีสุรักษ์. (2540). การศึกษาความสัมพันธ์ทางสังคมของเด็กปฐมวัยที่ได้รับ การจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ เป็นกลุ่มแบบวางแผน ปฏิบัติ ทบทวน และแบบปกติ. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาการศึกษาปฐมวัย, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ชาติชาย ปิลวาสน์. (2544). การศึกษาความสามารถในการแก้ปัญหาของเด็กปฐมวัยโดยใช้กระบวนการ วางแผน ปฏิบัติ ทบทวน.ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาการศึกษาปฐมวัย, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
นวลจันทร์ จุฑาภักดีกุล. (2559). การพัฒนาสมองเชิงบริหาร(EF). ในเอกสารประกอบการอบรมหลักสูตร “Thinking Child ในยุคดิจิตอล”โครงการพัฒนาผู้บริหารและผู้เกี่ยวข้องกับการศึกษาระดับปฐมวัย รุ่นที่ 8. วันที่ 3 กรกฎาคม 2559 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
นวลจันทร์ จุฑาภักดีกุล. (2560). การพัฒนาและหาค่าเกณฑ์มาตรฐานเครื่องมือประเมินการคิดเชิงบริหารในเด็กปฐมวัย. นครปฐม: ศูนย์วิจัยประสาทวิทยาศาสตร์ สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล.
ประอร อิศรเสนา. (2542). การสอนแบบไฮสโคป. วารสารการศึกษาปฐมวัย. 3(1), 18–30.
พัชรี ผลโยธิน และคณะ. (2550). การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยไทย: ตามแนวคิดไฮสโคป. กรุงเทพ: วี.ที.ซี. คอมมิวนิเคชั่น.
พีรวิชญ์ พาณิชย์วรกุล และเด่น ชะเนติยัง. (2562). การพัฒนารูปแบบการบริหารโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา สำหรับศตวรรษที่ 21. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. 30 (3), 185-198.
ภัทราดา เอี่ยมบุญญฤทธิ์, ชลธิชา ภูริปาณิก และฐิติชัย รักบำรุง (2563). การสอนอ่านเชิงวิเคราะห์ผ่านกระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของเด็กไทยยุค Gen Z. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. 31(3), 1-11.
วิจารณ์ พานิช. (2556). วิธีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ. ตถาตาพับบลิเคชัน.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2561). คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 (สำหรับเด็กอายุ 3-6 ปี). กรุงเทพฯ: สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
สุภาวดี หาญเมธี และ คณะ. (2561). คู่มือพัฒนาทักษะสมอง EF Executive Functions สำหรับครู ปฐมวัย. กรุงเทพมหานคร: เอกพิมพ์ไท.
Burry, S., & Judith, O. (1996). Rater agreement indexes for performance assessment. Educational and Psychological Measurement. 56(2): 256.
Center on the Developing Child at Harvard University. (2011). Building the brain’s “air traffic control” system: How early experiences shape the development of Executive Function: Working paper No. 11. Retrieved from http://www.developingchild.harvard.edu.
Dawson, P., & Guare, R. (2014). “Interventions to promote executive development in children and adolescents.” In Handbook of Executive Functioning, pp. 427-443. New York: Springer.
Yang, O.S. (1985). The effect of verbal plan and review training on preschool reflectivity. Dissertation Abstracts International. Retrieved from https://eric.ed.gov/?id=ED277489.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
17-12-2021
ฉบับ
บท
บทความวิจัย
License
บทความทุกบทความเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา