การพัฒนาความเข้าใจธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับการสอนแบบชัดแจ้ง

ผู้แต่ง

  • เยาวเรศ สังข์ทอง สุมาลี กาญจนชาตรี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

คำสำคัญ:

ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์, ความเข้าใจธรรมชาติของวิทยาศาสตร์, การสอนแบบชัดแจ้ง

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาความเข้าใจธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และหาแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับการสอนแบบชัดของนักเรียน กลุ่มที่ศึกษาคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 38 คน กำลังศึกษาภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 เก็บรวบรวมข้อมูลจาก แบบวัดความเข้าใจธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ บันทึกหลังสอน และอนุทินของนักเรียน ผลการวิจัยพบว่าการจัดการเรียนรู้สามารถพัฒนาความเข้าใจธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ทุกด้าน สำหรับแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คือการเชื่อมโยงสิ่งที่พบในชีวิตประจำวันหรือเรื่องที่เคยได้ยินรวมถึงการอภิปรายร่วมกัน การให้นักเรียนออกแบบวิธีการทดลองด้วยตนเอง และการลงมือปฏิบัติ

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551. กรุงเทพมหานคร โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด
รอฮานิง เจ๊ะดอเล๊าะ. (2555). ผลการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ที่มีต่อผลสัมฤทธ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และเจตคติต่อ
วิทยาศาสตร์ของนักเรียนในสังคมพหุวัฒนธรรม. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์หลักสูตรและการสอน, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
ลลิตา คำแก้ว. (2558). การพัฒนาความเข้าใจธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยการสอนแบบชัดแจ้งร่วมกับการสะท้อนความคิดผนวกกับ
เนื้อหาในเรื่องปฏิกิริยาเคมี. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา,มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สิทธิชัย ชัยลังกา. (2558). การพัฒนาความเข้าใจธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบชัดแจ้งและสะท้อน
ความคิดร่วมกับประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์: การวิจัยปฏิบัติการ. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
วิธวินท์ ทองมังกร. (2558). การจัดการเรียนรู้แบบบริบทเป็นฐานเพื่อพัฒนาความเข้าใจธรรมชาติวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหา
บัณฑิต สาขาการสอนวิทยาศาตร์, มหาวิทยาลัยรังสิต.
สุทธิดา จำรัส, นฤมล ยุตาคม, และ พรทิพย์ ไชยโส. (2552). ความเข้าใจธรรมชาติวิทยาศาสตร์ของนักเรียนแผนการเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. วารสารวิจัย
มข. 14 (4), 360-374.
เสาวนีย์ เกิดด้วง. (2558). การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4: การวิจัยปฏิบัติการ.
วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
Abd-El-Khalick, F. (2001). Embedding the nature of science instruction in preservice Elementary science course: A bonding scientism but….
Journal of Science Teacher Education. 12(3), 215-233.
Akerson, L.V., F. Abd-EI-Khalick and N.G Lederman. (2000). Influence of a Reflective Explicit Activity-Based Approach on Elementary Teachers’
Conceptions of Nature of Science. Journal of Research in Science Teaching. 37(4), 295-317.
Khishfe, R. (2008). The Development of Seventh Grader’s Views of Nature of Science. .Journal of Research in Science Teaching. 45(4), 470-496.
Khishfe, R. and F. Abd-El-Khalick. (2002). Influence of explicit and reflective versus implicit inquiry-oriented instruction on sixth graders’
views of nature of science. Journal of Research in Science Teaching. 39(7), 551-578.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

27-12-2019