The Development of Instructional Package of Basic Words with Images of Daily Routine Activities to Develop Reading and Writing Skills of Primary School Children with Special Needs

Main Article Content

อัณณ์ชญากร พัฒนประสิทธิ์

Abstract

The objectives of this experimental research were to develop the efficiency of and to study the results of the development of instructional package of basic words with images of daily routine activities to develop reading and writing skills of primary school children with special needs and to compare the basic skills of reading and writing of the children with special needs before and after using the instructional package. The participants in this study were 10 children with special needs for having learning disabilities and studying in grade 1 in the first semester of the 2017 academic year at Wat Mae Gad Noi School in Sansai District, Chiang Mai Province. These students were purposively selected. The research instruments were the instructional package of the basic words with images of daily routine activities, the evaluation form for the instructional package, and the test of reading and writing skills in the basic words. The statistics used for the data analysis were percentage, mean, and standard deviation.


The results revealed that the efficiency of the instructional package was at 78.16/78.33, which was higher than the set criteria. After the implementation of the instructional package, it was revealed that their reading and writing abilities and skills of the basic words were improved at the high level.

Article Details

How to Cite
พัฒนประสิทธิ์ อ. (2019). The Development of Instructional Package of Basic Words with Images of Daily Routine Activities to Develop Reading and Writing Skills of Primary School Children with Special Needs. Journal of Graduate Research, 10(2), 93–107. Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/banditvijai/article/view/196006
Section
Research Article

References

กัลยา ธรรมขันติ์. (2554). การใช้ชุดการสอนเรื่อง สระ เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านแบบแจกลูกคำสำหรับนักเรียนที่มีปัญหาทางการเรียนรู้. (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการศึกษาพิเศษ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่).

จิดาภา มีศีริ. (2553). ชุดการสอนการอ่านจับใจความโดยใช้นิทาน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2. ชลบุรี: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.

จุฬาลักษณ์ นัคคีย์. (2554). การจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสมเพื่อพัฒนาทักษะการออกเสียงและการเขียนคำศัพท์ภาษาไทยสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่4 โรงเรียนบ้านแม่อูคอหลวง. วารสารบัณฑิตวิจัย, 6(1), 13-23.

ชัยยงค์ พรหมวงค์. (2556). การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน. วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย, 5(1), 7-20.

ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. (2555). 80 นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: แดเน็กซ์ อินเตอร์คอปอเรชั่น.

ชุติวรรณ เจริญสุข. (2553). ปัจจัยที่ส่งผลต่อทักษะการอ่านภาษาไทยของนักเรียนช่วงชั้นที่ 2 โรงเรียน วัดชัยชนะสงคราม เขตสัมพันธ์วงศ์ กรุงเทพมหานคร. (ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชาจิตวิทยา มหาวิทยาลัยศรีนคิรทรวิโรฒ).

ฐาปนี เครืออนันต์. (2559). ชุดการสอนมัลติมีเดียเสริมทักษะการอ่านสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา. (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี).

ทิศนา แขมมณี. (2557). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. (พิมพ์ครั้งที่ 18). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นิลยา ทองศรี. (2560). สอนอย่างไรให้อ่านออกเขียนได้. เพชรบูรณ์: ศึกษานิเทศก์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1.

พัชรียา อินทร์พรหม. (2559). ชุดการสอนเสริมทักษะด้านการอ่าน เรื่อง ตัวสะกดในภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา. (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี).

มนสินี ภานุทัต. (2560). รายงานผลการพัฒนาการอ่านและการเขียนคำควบกล้ำโดยใช้ชุดฝึกทักษะกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. สุรินทร์: โรงเรียนบ้านระเภาว์ เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต1.

มัณฑรา ธรรมบุศย์น้อย. (2562). จิตวิทยาสำหรับครู. สืบค้นจาก https://sites.google.com/site/psychologybkf1/home

รสสุคนธ์ มากเอียด. (2558). การใช้ชุดการสอนพัฒนาความสามารถด้านการอ่านเพื่อความเข้าใจกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา).

รุ่งทิพย์ สุภาพ. (2557). การพัฒนาชุดการสอนการอ่านและเขียนคำที่มีตัวสะกดสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1. (การค้นคว้าแบบอิสระศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาประถมศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่).

โรงเรียนวัดแม่แก้ดน้อย. (2559). ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลนักเรียน. สืบค้นจาก https://watmaekadnoischool.wixsite.com/mknschool/blank-1

ลุนา ศรีกุตา. (2553). รายงานผลการพัฒนาทักษะการอ่านและเขียนคำพื้นฐานภาษาไทยโดยใช้แบบฝึกทักษะสาระการเรียนรู้ภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2. ขอนแก่น: โรงเรียนชุมชนบ้านหัวขัว สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาขอนแก่น เขต 2.

วรากรณ์ สามโกเศศ. (2554). “การอ่าน” กับ “ชีวีมีราคา”. มติชนรายวัน. สืบค้นจาก www.varakorn.com/upload/page/matichon_daily/8_sep_11_daily.pdf

วิไลลักษณ์ แก้วกระจ่าง. (2557). รายงานวิจัย เรื่องการเพิ่มทักษะการเขียนด้วยชุดแบบฝึกโครงเรื่อง. สุพรรณบุรี: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ.

ศศิพินต์ สุขบุญพันธ์. (2558). จิตวิทยาเด็กที่มีความต้องการพิเศษ. เชียงใหม่: หลักสูตรการศึกษาพิเศษ
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.

สมเกตุ อุทธโยธา. (2558). การเรียนรวมสำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษในโรงเรียนปกติ. เชียงใหม่: สำนักงานพิมพ์แพรวการพิมพ์.

สมบัติ ศิริจันดา. (2554). ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัด ทีพีเอ็น เพรส.

สอนประจันทร์ เสียงเย็น. (2559). จิตวิทยาสำหรับครู. อุดรธานี: คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2561). นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561. สืบค้นจาก https://www.obec.go.th/wp-content/uploads/2018/08/obec61.pdf

สําลี รักสุทธี. (2553). การจัดทําสื่อนวัตกรรมและแผนประกอบสื่อนวัตกรรม. นนทบุรี: เพิ่มทรัพย์การพิมพ.

สุขเพ็ญ เหรียญเกษมสกุล. (2558). การพัฒนาทักษะการอ่านออกเสียงโดยการใช้นิทานของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/9. กรุงเทพฯ: โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม.

สุชาดา พุ่มศรีอินทร. (2556). การพัฒนาความสามารถในการเขียนสะกดคำของนักเรียนที่มีภาวะบกพร่องทางการเรียนรู้ด้วยการใช้ชุดฝึกการเขียนสะกดคําตามหลักการเชื่อมโยงคำพ้องเสียง. (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษาพิเศษ มหาวิทยาลัยศิลปากร).

สุนีติ์ ภู่จิรฐาพันธุ์. (2554). การใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร. กรุงเทพฯ: ทริปเพิ้ล เอ็ดดูเคชั่น.

สุภาภรณ์ สิงห์คำ. (2553). การพัฒนาทักษะการอ่านการเขียนภาษาไทยของนักเรียนชาวไทยภูเขาชั้นประถมศึกษาปีที่5 โดยใช้สื่อประสม. (การค้นคว้าแบบอิสระศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่).

สุรีวรรณ ชัยเพชร, วัฒนา รัตนพรหม และประสิทธิ์ ทองแจ่ม. (2558). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเขียนสะกดคำภาษาไทยสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. วารสารราชภัฏสุราษฎร์ธานี, 2(2), 77-86.

โสภณ สาทรสัมฤทธิ์ผล. (2555). ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร. กรุงเทพฯ: ทริปเพิ้ล เอ็ดดูเคชั่น.

อารมย์ โพธิสาร. (2554). รายงานการพัฒนาทักษะการอ่านและการเขียนภาษาไทย โดยใช้ชุดฝึกทักษะ การอ่านและการเขียนคำจากภาพ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: โรงเรียนวัดมหาบุศย์ (พิทักษ์ถาวรคุณ) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร.

อัจฉรา เจตบุตร และมาเรียม นิลพันธ. (2556). การพัฒนาบทเรียนสื่อประสม เรื่อง การเขียนสะกดคำสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย, 5(1), 157-168.

อับโดรอสัก มะลาเฮง. (2555). การพัฒนาทักษะการอ่านภาษามลายูยาวี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้ชุดฝึกอ่าน. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการสอนอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา).

อุไรพร จำนงค์ผล. (2558). การพัฒนาชุดการสอนอ่านภาษาไทยเพื่อความเข้าใจ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. สืบค้นจาก http://www.trueplookpanya.com/true/teacher_portfolio_detail.php?portfolio_id=1363