A Development of Reading Aloud Skills on Thai Words with the Standard Final Consonant Rules by Using Games for Prathomsuksa 1 Students Under Mae Chan Saisawan Educational Development Network, Mae Chan District, Chiang Rai Province
Main Article Content
Abstract
The objectives of this study were to construct and evaluate the efficiency of the learning management plans by using games for teaching final consonant aloud skills on Thai words with standard ending rules for Prathomsuksa 1 students under the Mae Chan Saisawan Educational Development Network based on the 80/80 criteria, to compare the students’ pre- and post-learning achievements on reading aloud the Thai words, and to examine the students’ satisfaction with the learning management on reading aloud the Thai words the simple random sampling method was used to result 13 Prathomsuksa 1 students from Thammajarikoupatham School 1 in the second semester of the 2018 academic year. The research instruments consisted of the learning management plans by using games involving 8 learning units and 24 lesson plans covering 1 hour for each lesson plan, the achievement tests (pre- & posttest on reading aloud 40 Thai words with the standard final consonant rules), 10-item students’ satisfaction questionnaire with the use of games for the learning management. The statistics for data analysis were mean, standard deviation, and t-test. The results indicated that the efficiency of the learning management was at 84.58/85.88, which were higher than those of the pre-determined criteria. Moreover, the posttest achievement scores were higher than those of the pre-test at the statistical significance level of .01. Moreover, the students showed their satisfaction with the learning management at a high level in all items with the mean scores of 2.80. The findings confirmed the hypothesis of the study.
Article Details
References
กาญจนา โพธิลักษณ์. (2554). การใช้เกมเสริมทักษะการอ่านคำที่มีตัวสะกดสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเทศบาลวัดศรีปิงเมือง. (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรหาบัณฑิต, สาขาการสอนภาษาไทย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่).
เกริก ท่วมกลาง และจินตนา ท่วมกลาง. (2555). การพัฒนาสื่อ/นวัตกรรมทางการศึกษาเพื่อเลื่อนวิทยฐานะ. กรุงเทพฯ: สถาพรบุ๊คส์.
จิตรลดา ภูถาวร. (2555). การพัฒนาความสามารถในการเรียนรู้เรื่องการเขียนสะกดคำโดยใช้เทคนิคจิกซอว์ 2 ร่วมกับเกมการศึกษาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏ
เชียงราย).
ทิศนา แขมมณี. (2555). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. (พิมพ์ครั้งที่ 16). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.
ทีมข่าวเฉพาะกิจไทยรัฐออนไลน์. (2559). เจาะปมร้อนรับวันเด็ก อะไรทำเยาวชนไทยอ่านไม่ออก. สืบค้นจากwww.thairath.co.th.
นพพร ธนะชัยขันธ์. (2555). สถิติเบื้องต้นสำหรับการวิจัย. กรุงเทพฯ: วิทยพัฒน์.
บานอุบล บำรุงชาติ. (2556). การสร้างหนังสือส่งเสริมการอ่านโดยใช้เทคนิคของ Fry เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านมาตราตัวสะกด สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านราษฎร์ภักดี สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 4. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการสอนภาษาไทย มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย).
ปนัดดา บุณยสาระนัย. (2560). ชาวอ่าข่า ภาษาและการสร้างระบบเขียนภาษาอ่าข่าด้วยอักษรไทย บ้านแม่สะแลป อำเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย. วารสารภาษาและภาษาศาสตร์, 36(1), 37-60.
ประสาท เนืองเฉลิม. (2556). วิจัยการเรียนการสอน. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.
โรงเรียนธรรมจาริกอุปถัมภ์ 1. (2561). รายงานโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ประจำปีการศึกษา 2561. เชียงราย: โรงเรียนธรรมจาริกอุปถัมภ์ 1.
วรรณี โสมประยูร. (2553). เทคนิคการสอนภาษาไทย. กรุงเทพฯ: ดอกหญ้าวิชาการ.
วรรธนพร อรุณประเสริฐศรี. (2550). การพัฒนาวิธีการอ่านสะกดคำภาษาไทยโดยใช้เกมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนปทุมวัน. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรหาบัณฑิต, สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา).
สนิท สัตโยภาส. (2555). แบบฝึกเพื่อสอนซ่อมเสริมนักเรียนที่มีปัญหาด้านการออกเสียงไม่มีตัวสะกด. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ธารอักษร.
สมบูรณ์ พงศาเทศ. (2550). การพัฒนาทักษะการอ่านและการเขียนคำยากวิชาภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้เกม. (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรหาบัณฑิต, สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยขอนแก่น).
สหัทยา สิทธิวิเศษ, ปฏิพันธ์ อุทยานุกูล,แสวง เครือวิวัฒนกุล และมณี จำปาแพง. (2560). นักเรียนบนพื้นที่สูงกับการอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ : สาเหตุปัญหาและแนวทางแก้ไข. วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร, 12(2), 100-110.
สายัณห์ ผาน้อย. (2553). การสอนภาษาไทยให้อ่านออกเขียนได้โดยวิธีแจกลูกสะกดคำ. นนทบุรี: ซี. ซี. นอลลิดจ์ลิงส์.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3. (2562). แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2562.เชียงราย: สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3.
สำนักทดสอบทางการศึกษา. (2560). คู่มือการประเมินความสามารถด้านการอ่านออก ปีการศึกษา 2560.กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
สุวิทย์ มูลคำ และอรทัย มูลคำ. (2553) .19 วิธีจัดการเรียน เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะ. (พิมพ์ครั้งที่ 9).
กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.
หทัยชนก ออนสา. (2556). การพัฒนาทักษะการอ่านโดยใช้กิจกรรมการเรียนปนเล่นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านนาอ้อม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพะเยา เขต 2. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการสอนภาษาไทย มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย).
อัจฉรา ชีวพันธ์. (2554). พัฒนาทักษะภาษา พัฒนาความคิดด้วยกิจกรรมการเล่นประกอบการสอนภาษาไทย.
(พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.