The Promotion Affective The Franchise Fresh-Coffee Consumption Behavior of Consumers in Mueang District, Chiangmai Province

Main Article Content

กุลธิดา ก้าวสัมพันธ์
ปะราสี เอนก

Abstract

This research study aims to examine the fresh-coffee consumption behavior of consumers and to investigate the promotion effectiveness the fresh-coffee consumption in Chiangmai Province. The samples consisted of 385 consumers who consumed and used the franchise fresh-coffee. The non-probability and accidental sampling methods were used to derive the sample group. The t-test and ANOVA were employed to analyze the data.


The results show that most of the samples were females age between 21-30 years old with a bachelor's degree and working for private companies as well as earning an income about 10,000-15,000 baht per month. Most chose cafe Amazon as a favorite flavor of coffee.  They used coffee services 2-3 times per month and each one cost less than 100 baht. Most came with two persons at a time, who were generally friends. The most popular time for fresh coffee was 13.01-16.00 hrs. with the purpose of drinking coffee or eating snacks.


The Promotion mix factor consisting of Advertising, Public Relations, Direct Marketing, Sales Promotion, and Personal Selling affected their franchise fresh-coffee consumption behavior. The demographic factors including gender, age, education, occupation, and average monthly income influenced their fresh-coffee consumption behavior at a significance level of .05.

Article Details

How to Cite
ก้าวสัมพันธ์ ก., & เอนก ป. (2018). The Promotion Affective The Franchise Fresh-Coffee Consumption Behavior of Consumers in Mueang District, Chiangmai Province. Journal of Graduate Research, 9(1), 183–199. Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/banditvijai/article/view/130930
Section
Research Article

References

กันยา สุวรรณแสง. (2550). การพัฒนาบุคลิกภาพ. กรุงเทพฯ: บำรุงสาส์น.

กมลรัตน์ โรจน์เรืองรัตน์. (2550). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการบริโภคกาแฟตามร้านกาแฟพรีเมี่ยมบนถนนสีลม ของผู้บริโภคกลุ่มวัยทำงาน. (สารนิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาธุรกิจเกษตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ).

กุลวดี คูหะโรจนานนท์. (2545). หลักการตลาด. ปทุมธานี: สถาบันราชภัฎเพชรบุรีวิทยาลงกรณ์.

กวิน กิตติบุญญา. (2559). แนวโน้มธุรกิจแฟรนไชส์ปี 2559. สืบค้นจาก http://www.thaifranchisecenter.com

คมชัดลึก. (2553). เชียงใหม่คว้าอันดับ 2 World Best Award-Top10Cities. สืบค้นจาก http://www.komchadluek.net/news/economic/67342

ณัฐวรรณ โสมาศรี. (2549). พฤติกรรมการบริโภคกาแฟในเขตเมืองพัทยา. (การค้นคว้าอิสระรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณทิต, สาขาบริหารทั่วไป วิทยาลัยการบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา).

ไทยนิวส์. (2558). สถานการณ์กาแฟภาคเหนือกับกระแสนิยมดื่มในคนรุ่นใหม่. สืบค้นจาก http://www.thainews70.com

ธันวา ยอดเชื้อ. (2554). ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกาแฟ. สืบค้นจาก http://it.kbtc.ac.th

ประสพชัย พสุนนท์. (2555). การวิจัยการตลาด. กรุงเทพฯ: บริษัทสำนักพิมพ์ท้อป จำกัด.

ปราณี หลำเบ็ญสะ. (2553). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในจังหวัดปัตตานี. (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการวัดผลและวิจัยการศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์).

ผู้จัดการออนไลน์. (2553). สตาร์บัคส์มั่นใจ เปิดเพิ่ม 10 สาขา. สืบค้นจาก http://www.manager.co.th

ราตรี ผลพฤกษา. (2546). พฤติกรรมการซื้อและความพึงพอใจของผู้บริโภคที่มีต่อขนมขบเคี้ยวกลุ่มปลาหมึกตรา“สควิคดี้” ในเขตกรุงเทพมหานคร. (สารนิพนธ์บริหารธรุกิจมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการตลาดมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ).

วรามาศ เพ็ชรเนียม. (2558). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกใช้บริการร้านกาแฟพรีเมี่ยมของประชากรในเขตกรุงเทพมหานคร. (การค้นคว้าอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาวิชาพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์).

ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2550). กสิกรไทยคาดธุรกิจกาแฟปีนี้โตต่อเนื่อง. สืบค้นจาก https://www.kasikornresearch.com

ศิรินภา พิมรินทร์. (2556). ส่วนประสมทางการ ตลาดบริการที่มีความสัมพันธ์กับการ ตัดสินใจซื้อเครื่องดื่มกาแฟสดที่ร้าน True Coffee สาขาอาคารเมืองไทยภัทร คอมเพล็กซ์ ถนนรัชดาภิเษก. (วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการตลาด มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ).

ศริประภา นพชัยยา. (2558). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อกาแฟจากร้านคาเฟ่ อเมซอน ในสถานีบริการน้ำมัน ปตท.ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. (การค้นคว้าอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาวิชาพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์).

ศิริวรรณ เสรีรัตน์. (2543). การส่งเสริมการตลาด. กรุงเทพฯ: ธีระฟิลม์และไซเท็กซ์.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์. (2549). แนวคิดเกี่ยวกับปัจจัยส่วนบุคคล. กรุงเทพฯ: ธีระฟิลม์และไซเท็กซ์.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์. (2550). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพฯ: ธีระฟิลม์และไซเท็กซ์.

อาภรณ์ ธรรมเขต. (2550). แหล่งปลูกกาแฟของไทย. สืบค้นจาก http://www.purichawon.com

อัจฉรา นพวิญญูวงศ์. (2550). ปัจจัยทางด้านประชากรศาสตร์ที่มีผลต่อพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อและการให้ความสำคัญต่อการส่งเสริมการขายเสื้อเชิ้ตบุรุษมีตราสินค้าในตลาดบน. (การศึกษาอิสระปริญญา บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการตลาด มหาวิทยาลัยขอนแก่น).