การศึกษาศักยภาพการผลิตและการตลาดน้อยหน่าในจังหวัดนครราชสีมา

Authors

  • เอกรัตน์ เอกศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
  • Ekkarat Ekkasart Faculty of Management Science, Nakhon Ratchasima Rajabhat University

Keywords:

ศักยภาพ, น้อยหน่า, การผลิต, การตลาด, Potential, Sugar Apple, Production, Marketing

Abstract

บทความนี้เป็นการนำเสนอการศึกษาเรื่องน้อยหน่าในด้านสภาพทั่วไปของการผลิตและการตลาดการเชื่อมโยงการผลิตและการตลาดในระดับต้นนํ้า กลางนํ้าและปลายนํ้าการศึกษาจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรคในด้านการผลิตและการตลาดศักยภาพการผลิตและการตลาด และแนวทางการพัฒนาการผลิตและการตลาดน้อยหน่าในพื้นที่จังหวัดนครราชสีมาด้วยกระบวนการวิจัยแบบมีส่วนร่วม โดยมีพื้นที่เป้าหมาย คืออำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมาผลการศึกษา พบว่าพื้นที่เพาะปลูกน้อยหน่าในจังหวัดนครราชสีมา ร้อยละ 96.45 อยู่ที่อำเภอปากช่องโดยการผลิตน้อยหน่ามีความเชื่อมโยงในระดับตน้ น้ำกับเจ้า ของที่ดินผูู้จำหน่ายพันธุ์น้อยหน่า ปุ๋ย และยาปราบศัตรูพืชวัสดุและอุปกรณ์ทางการเกษตร และเกษตรกรผูู้ปลูกน้อยหน่าและระดับกลางน้ำกับพ่ค้าคนกลาง ซึ่งมีช่องทางการตลาด จำนวน 6 ช่องทาง คือพ่อค้าท้องที่ พ่อค้าขายส่งในกรุงเทพฯ พ่อค้าขายส่งต่างจังหวัด นายหน้าหรือตัวแทน พ่อค้าขายปลีก และพ่อค้าส่งออกและระดับปลายนํ้ากับตลาดรับซื้อน้อยหน่า จำนวน 3 ระดับคือท้องถิ่น จังหวัด และประเทศ ทั้งนี้น้อยหน่ามีจุดแข็งและโอกาสหลายประการที่เอื้อต่อการพัฒนาการผลิตและการตลาดน้อยหน่า ซึ่งโดยภาพรวมการผลิตและการตลาดน้อยหน่ามีศักยภาพอยู่ในระดับมากที่สุด

The Study of Production and Marketing Potential of Sugar Apple In NakhonRatchasima Province

The article had presented towards the study of sugar apple of production and marketing aspects together with the relation between the production and marketing processes from the upstream, mid stream to low stream level. Moreover, the study of strengths weaknesses opportunities and threats, Production and Marketing Potentialand Guidelines for the development production and marketinghad also been explored by using the participatoryaction research (par) processes. Pakchong, NakhonRatchasima province was assigned as the target area and the results were found as follows; the area in Pakchong contributed to sugar apple cultivation was 96.45%.The production of sugar apple showed particular relation in upstream level between the landlord, sugar apple’s species distributors, pesticide and fertilizer distributors, planting tools and sugar apple’s farmers.In the mid stream level, it was showed that there was relation between the middlemen who own 6 marketing channels; local vendors, Bangkok’s wholesalers, another province’s wholesalers, middlemen and export vendors. In the low stream level, the relation occurred between the market in 3 levels; local, provincial and national. Sugar apple possessed many strengths and opportunities which allowed the development in terms of production and marketing aspects. In general, sugar apple’s production and marketing aspects was in the highest level

Downloads

How to Cite

เอกศาสตร์ เ., & Ekkasart, E. (2015). การศึกษาศักยภาพการผลิตและการตลาดน้อยหน่าในจังหวัดนครราชสีมา. Journal of Business Administration The Association of Private Higher Education Institutions of Thailand, 4(2), 62–76. Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/apheitvu/article/view/95216