ล่ามกับการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม

Main Article Content

ชุติมา สุดจรรยา

บทคัดย่อ

        บทความวิชาการเรื่อง ล่ามกับการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรมนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอความหมายของผู้ปฏิบัติหน้าที่ล่ามตามแนวคิดทฤษฎีล่ามและการแปล คุณสมบัติของล่าม ปัญหาการปฏิบัติหน้าที่ล่าม การสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม และการปฏิบัติหน้าที่ล่ามในบริบทงานวิเทศสัมพันธ์ในมหาวิทยาลัย เพื่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้และทำความเข้าใจในงานล่ามว่า คือ งานแปลคำพูดของฝ่ายหนึ่งให้อีกฝ่ายหนึ่งเข้าใจด้วยวาจา จึงมีระดับความยากง่ายของสาระต่างกันไป ซึ่งนอกจากจะมีความรู้ทางวิชาการเกี่ยวกับภาษาต่างประเทศที่ใช้ในการปฏิบัติหน้าที่แล้ว อีกส่วนที่จำเป็นไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าภาษาต่างประเทศ คือ ภาษาไทย เนื่องจากงานล่ามหรือการแปล คือ การถ่ายทอดความหมายจากภาษาเดิมไปสู่ภาษาใหม่ ดังนั้นการแปลภาษาต่างประเทศเป็นภาษาไทย ถึงแม้ผู้แปลจะมีองค์ความรู้เรื่องภาษาต่างประเทศมากมายเพียงใดก็ตาม แต่หากขาดความเชี่ยวชาญในภาษาไทย ก็ไม่สามารถที่จะแปล และสื่อความหมายออกมาได้เป็นอย่างดีแน่นอน นอกจากนี้ ผู้ปฏิบัติหน้าที่ล่ามยังต้องอาศัยประสบการณ์ ความเข้าใจเกี่ยวกับวัฒนธรรม ประเพณี และเข้าใจวิถีชีวิตของผู้คนที่มาจากต่างวัฒนธรรมด้วย เพื่อช่วยให้สามารถเลือกคำพูดที่ถูกต้องเหมาะสมมาใช้ในการสื่อความหมายออกไปก่อให้เกิดความเข้าใจอันดีระหว่างคู่เจรจาที่มาจากต่างประเทศ ต่างวัฒนธรรม

Article Details

How to Cite
สุดจรรยา ช. (2023). ล่ามกับการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม . วิพิธพัฒนศิลป์, 3(3), 67–87. https://doi.org/10.14456/wipit.2023.15
บท
บทความวิชาการ

References

กรพิม วุฒิวงศ์ และ หนึ่งหทัย แรงผลสัมฤทธิ์. (2559). ลักษณะการทำงานและบทบาทของล่ามในสำนักข่าวกรองแห่งชาติ. วารสารการแปลและการล่าม, 1(2), 18-60. https://so04.tci-thaijo.org/index.php/JTIT/article/view/228269/155367

กุลศิริ เจริญศุภกุล. (2551). ความคาดหวังของผู้ใช้ล่ามที่ประชุมชาวไทย [สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย].

ชณัณกร เพ็ชรวัฒนา. (2559). การแปลของไทยในศตวรรษที่ 21. วารสารการแปลและการล่าม, 1(1), 16 - 49. https://so04.tci-thaijo.org/index.php/JTIT/article/view/228244/155347

ธารทิพย์ แก้วทิพย์. (2542). การแปลแบบล่าม: แนวคิดเชิงทฤษฎีและวิธีปฏิบัติ. วารสารศิลปศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2(1), 26 – 42. https://so03.tci-thaijo.org/index.php/liberalarts/article/view/14916/13681

ธีรวิทย์ ภิญโญณัฐกานต์. (2556). ศาสตร์และศิลป์ของนักแปลและล่ามภาษา. [เอกสารที่ไม่มีการตีพิมพ์]. สำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. http://sutir.sut.ac.th:8080/jspui/bitstream/123456789/6208/1/Fulltext.pdf

พรพรรษา แก้วกระจ่าง. (2553). ความคาดหวังด้านคุณภาพและบทบาทในกระบวนการช่วยเหลือและคุ้มครองสวัสดิภาพผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย].

วิโรจน์ อรุณมานะกุล. (2566). กลุ่มไวยากรณ์รูปนัย ทฤษฎีภาษาศาสตร์ ๒. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. https://www.arts.chula.ac.th/~ling/contents/File/Ling%The0%20ll.pdf.

วรรณิดา ยืนยงค์ และ สมเกียรติ เชวงกิจวณิช. (27, มิถุนายน, 2562). บทบาทหน้าที่ของล่ามและปัญหาการ ล่ามภาษาญี่ปุ่นชาวไทย ในโรงงานอุตสาหกรรมของประเทศไทย กรณีศึกษาความแตกต่างระหว่าง ล่ามมือใหม่ และล่ามมืออาชีพ [Symposium]. การประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษานานาชาติ สรรพศาสตร์ สรรพศิลป์ ประจำปี 2562. คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์. https://arts.tu.ac.th/uploads/arts/Doctorate/Meeting/M35.pdf

สนสร้อย เทพัฒนพงศ์ และ หนึ่งหทัย แรงผลสัมฤทธิ์. (2561). ความแตกต่างทางวัฒนธรรมยุโรปและวัฒนธรรมไทย ที่มีผลต่อการทำล่ามในบริบทของงานสถานทูต. วารสารการแปลและการล่าม. 3(2), 198 – 237. https://so04.tci-thaijo.org/index.php/JTIT/article/view/244615

สัญฉวี สายบัว. (2542). หลักการแปล. (พิมพ์ครั้งที่ 7). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

คู่มือการปฏิบัติหน้าที่ล่ามพูดพร้อมอย่างมีประสิทธิภาพสำหรับนักวิเทศสัมพันธ์ของสำนักภาษาต่างประเทศ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2564, มกราคม). สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. https://citly.me/eSwo6

สุพรรณี ปิ่นมณี. (2555). แปลผิด แปลถูก. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Albright, M. (2008). Memo to the President Elect: How We Can Restore America’s Reputation and Leadership. Harper.

Barzilai-Nahon, K. (2008). Toward a Theory of Network Gatekeeping: A Framework for Exploring Information Control. Journal of the American Society for Information Science and Technology, 59(9), 1493 - 1512. https://journals.scholarsportal.info/details/15322882/v59i0009/1493_tatongaffeic.xml

Buhler, H. (1986). Linguistic (semantic) and extralinguistic (pragmatic) criteria for the evaluation of conference interpretation and interpreters, Multilingua, 5(4), 231 - 236. https://dl.acm.org/doi/10.5555/18973.18979

Klobas, J. E., & McGill, T. (1995). Identification of Technological Gatekeepers in the Information Technology Profession. Journal of the American Society for Information Science, 46(8), 581 - 589.

Kurz, I. (1989). Conference interpreting user expectations, in HAMOND, D. (ed), COMING OF AGE. PROCESSDINGS OF THE 30th CONFERENCE OF THE A.T.A., Medford, N. J. Learneed Information Inc., 143 – 148.

Llewellyn – Jones, P., & Lee, R. G. (2013). Getting to the Core of Role: Defining Interpreter’Role - Space. International Journal of Interpreter Education, 5(2), 54 - 72. https://tigerprints.clemson.edu/cgi/viewcontent.cgi?article=1117&context=ijie

Lung, R. (2016). Defining Sillan interpreters in first-millennium East Asian exchanges. John Benjamins Publishing Company.

Pochhacker, F. (2016). Introducing Interpreting Studies. (2nd ed.). Routledge. https://doi.org/10.4324/9781315649573

Roland, R. (1999). Interpreters as Diplomats: A Diplomatic History of the Role of Interpreters in World Politics. University of Ottawa Press.

Sturges, P. (2001). Gatekeepers and other intermediaries. Aslib Proceedings, 53(2), 62 - 67.

Takeda, K. (2010). Interpreting the Tokyo War Crimes Tribunal. A Sociopolitical Analysis. The University of Ottawa Press.

Wood, S. (2013). Prestige in world politics: history, theory, expression. Int.Polit, 50, 387 – 411. https://doi.org/10.1057/ip.2013.13

Zwischenberger, C., & Pochhacker, F. (2010). Survey on quality and role: conference interpreters expectations and self-perception. AIIC. https://aiic.org/document/9646/