กลยุทธ์การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมความฉลาดรู้การอ่าน
Main Article Content
บทคัดย่อ
ประเทศไทยต้องเข้ารับการประเมินผลการทดสอบความฉลาดรู้การอ่าน (Reading Literacy) โดย Program for International Student Assessment (PISA) ทุก 3 ปี สถานศึกษาทุกแห่งต้องหาแนวทางการจัดการเรียนรู้เพื่อนำมาใช้พัฒนาความฉลาดรู้การอ่านของผู้เรียนให้มีสัมฤทธิ์ผลสูงขึ้น ผู้เขียนจึงนำเสนอ กลยุทธ์การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมความฉลาดรู้การอ่าน โดยบูรณาการกลยุทธ์การจัดการเรียนรู้ทั้ง 3 แนวทาง คือ FIVES, High 5 และ POSSE strategy ซึ่งมีจุดเน้นต่างกัน แนวทางที่พัฒนาขึ้นมี 6 ขั้นตอน ดังนี้ 1) สำรวจเนื้อหา 2) ค้นหาคำศัพท์ 3) จัดลำดับข้อมูล 4) พิจารณาความสมบูรณ์ของเนื้อหา 5) สนทนาแลกเปลี่ยน และ 6) สรุปงานเขียนให้สมบูรณ์ แนวทางดังกล่าวสามารถนำไปใช้เพื่อพัฒนาสมรรถนะความฉลาดรู้การอ่าน การคิดขั้นสูง และการทำงานร่วมกัน ซึ่งเป็นความรู้และทักษะสำคัญของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21
Article Details
บทความทุกบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ถือว่าเป็นลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
References
กระทรวงวัฒนธรรม. (2560). เอกสารสรุปสาระสำคัญ แผนแม่บทส่งเสริมวัฒนธรรมการอ่านสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ของไทย พ.ศ. 2560-2564. กรุงเทพฯ: กระทรวงวัฒนธรรมร่วมกับกระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวงมหาดไทย.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟิก.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2562). พจนานุกรมศัพท์ศึกษาศาสตร์ร่วมสมัย ชุดความฉลาดรู้ (literacy). กรุงเทพฯ: สำนักราชบัณฑิตยสถาน.
สันติวิฒน์ จันทร์ใด และคณะ. (2561). แบบฝึกหัดการรู้เรื่องการอ่าน. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สำนักมาตรฐานการศึกษาและพัฒนาการเรียนรู้. (2562). มาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.
สำนักเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2575. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.
Cooper, J. D; Kiger, N. D and Robinson, M. D. (2018). Literacy: helping students construct meaning. Belmont: Wadsworth, Cengage Learning.
Dymock, S and Nicholson, T. (2010). High 5! strategies to enhance comprehension of expository text. The Reading Teacher, 64(3), 166-178.
OECD. (2000). PISA 2000 Results: Executive Summary. Paris: OECD Publishing
________. (2003). PISA 2002 Results: Executive Summary. Paris: OECD Publishing.
________. (2006). PISA 2005 Results: Executive Summary. Paris: OECD Publishing
________. (2009). PISA 2008 Results: Executive Summary. Paris: OECD Publishing.
________. (2014). PISA 2012 Results: What Students Know and Can Do–Student Performance in Mathematics, Reading and Science (Volume I, Revised edition, February 2014). PISA. OECD Publishing.
________. (2016). PISA 2015 Assessment and Analytical Framework: Science, Reading, Mathematic and Financial Literacy, PISA. Paris: OECD Publishing.
Shea, M and Roberts, N. (2016). The FIVES strategy for reading comprehension. West Palm Beach, FL: Learning Sciences.
Thomson, S; Hillman, K and Bortoli, L. (2013). A teacher’s guide to PISA reading literacy: Victoria. Australian Council for Educational Research Press.
Tiarina, Y and Arianti, G. (2014). Teaching reading analytical exposition text to senior high school students by using POSSE (Predict, Organize, Search, Summarize, Evaluate) Strategy. JELT journal, 3(1), 195-201.
Unesco. (2005). Education for all for life. France: United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization.
Warner-Griffin, C., Liu, H., Tadler, C., Herget, D., and Dalton, B. (2017). Reading Achievement of U.S. Fourth - Grade Students in an International Context: First Look at the Progress in International Reading Literacy Study
(PIRLS) 2016 and ePIRLS 2016 (NCES 2018-017). U.S. Department of Education. Washington, DC: National Center for Education Statistics.