ADMINISTRATIVE FACTORS AFFECTING THE EFFECTIVENESS OF ACADEMIC AFFAIRS ADMINISTRATION IN PRIVATE SCHOOLS UNDER SAKON NAKHON PROVINCIAL EDUCATION OFFICE

Main Article Content

Nittaya Chaisura
Akkaluck Pheasa
Wannika Chalakbang

Abstract

The purposes of this research were to 1) examine the level of administrative factors in private schools under the Sakon Nakhon Provincial Education Office (SNK-PEO), 2) examine the level of effectiveness of academic affairs administration in private schools, 3) explore the relationship between administrative factors and the effectiveness of academic affairs administration in private schools, 4) determine predictive power of administrative factors affecting the effectiveness of academic affairs administration in private schools, and 5) establish guidelines for developing administrative factors affecting the effectiveness of academic affairs administration in private schools. The sample, obtained through stratified random sampling, consisted of school administrators, teachers in charge of academic affairs, and teachers in private schools under the SNK-PEO in the academic year 2020, yielding a total of 283 participants. The research instrument for data collection was a set of 5-level rating scale questionnaires with two aspects: Aspect 1- Administrative Factors in Private Schools, with IOC values ranging between .80 and 1.00, the discriminative power  value ranging from .34 to .68 and the reliability  value of .97, and Aspect 2: Effectiveness of Academic Affairs Administration in Private Schools with IOC values ranging from .80 to 1.00, the discriminative power  value between .31 and .65 and the reliability  value of .94. The statistics for data analysis included frequency, percentage, mean, standard deviation, Pearson’s product-moment correlation coefficient and stepwise multiple regression analysis.


The findings were as follows: 1) The administrative factors in private schools under the SNK-PEO as a whole were at a high level, 2) The effectiveness of academic affairs administration in private schools under the SNK-PEO as a whole was at a high level, 3) The administrative factors and the effectiveness of academic affairs administration in private schools under the SNK-PEO had a positive relationship at the .01 level of significance, 4) The four aspects of administrative factors affecting the effectiveness of academic affairs administration in private schools under the SNK-PEO were able to predict private schools’ effectiveness at the .01 level of significance. The said factors, including budget (X3), building (X5), heads of academic affairs department (X1), and teachers (X2), achieved a correlation coefficient of .741 and a predictive power of 57 percent. The regression equation of raw scores and standardized scores could be written as follows: Y' = 1.372 + .168(X3) + .208(X5) + .169(X1) + .147(X2), Z' = .249(Z3) + .336(Z5) + .167(Z1) + .158(Z2), and 5) The guidelines for developing administrative factors in private schools under the SNK-PEO involved four aspects needing improvement: School administrators, teachers, budget, and building.

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

เขษมสร โข่งศรี. (2557). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาขนาดใหญ่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 41. วิทยานิพนธ์ ค.ม. กำแพงเพชร: มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร.

จรุณี เก้าเอื้ยน. (2556). เทคนิคการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา: กลยุทธ์และแนวทางการปฏิบัติสำหรับผู้บริหารมืออาชีพ. ยะลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

ดาราพร เชยเถื่อน นภาเดช บุญเชิดชู และจิตติรัตน์ แสงเลิศอุทัย. (2561). สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 10. วารสารสังคมศาสตร์วิจัย, 9(2), 25–45.

ธัญญลักษณ์ ผาภูมิ. (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำทางวิชาการกับประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ธีรัตม์ พลบุรี. (2551). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาหนองบัวลำภู. วิทยานิพนธ์ ค.ม. อุดรธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.

นิตยา แสนสุข. (2556). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26. วิทยานิพนธ์ ค.ม. กำแพงเพชร: มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร.

ปภาณีย์ ดอกดวง. (2559). ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนในกลุ่มเครือข่ายสถานศึกษาแก้งโนนกาเร็น สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 5. วิทยานิพนธ์ ค.ม. อุบลราชธานี: มหาวิทยาลัยราชธานี.

ปริญญา จันทะพันธ์. (2556). ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 1. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2553). การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพฯ: พิมพ์ดี.

ปวีนา เหล่าลาด. (2557). ปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพการบริหารงานวิชาการโรงเรียน ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

พณพร รัตนประสบ ภารดี อนันต์นาวี และเจริญวิชญ์ สมพงษ์ธรรม. (2561). ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษา จังหวัดปราจีนบุรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7. วารสารวิจัยรำไพพรรณี, 12(2), 141–151.

มูนา จารง. (2560). การบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาตามทัศนะครูผู้สอนในศูนย์เครือข่ายตลิ่งชัน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 2. วิทยานิพนธ์ ค.ม. ยะลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

วศิวพร ละหารเพชร. (2562). ประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการสถานศึกษาขนาดเล็กตามความคิดเห็นของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎรธานี เขต 2. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. สุราษฎร์ธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี.

วิภาวดี ชีวะผลาบูรณ์. (2553). รูปแบบการบริหารวิชาการที่มีประสิทธิผลในโรงเรียนเอกชน ระดับประถมศึกษาเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ ปร.ด. นครปฐม: มหาวิทยาลัยคริสเตียน.

ศิราณี มะแอ. (2554). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการโรงเรียนนวมินทราชินูทิศสวนกุหลาบวิทยาลัยปทุมธานี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4. วิทยานิพนธ์ ค.ม. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

โศภิดา คล้ายหนองสรวง. (2558). การบริหารแบบมีส่วนร่วมทีส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3. วิทยานิพนธ์ ค.ม. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

สอนนารินทร์ ปัททุม. (2559). ปัจจัยการบริหารงานที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 22. วิทยานิพนธ์ ค.ม. สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

สำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร. (2550). การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพฯ: สำนักการศึกษา.

สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน. (2551). พระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. 2550. กรุงเทพฯ: สกสค.

สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสกลนคร. (2563). ข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษาจังหวัดสกลนคร ปีการศึกษา 2563. สกลนคร: สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสกลนคร.

สุชาดา ถาวรชาติ. (2559). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 2. วิทยานิพนธ์ ค.ม. นครสวรรค์: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.

หนึ่งฤทัย หาธรรม. (2553). ปัจจัยที่สัมพันธ์กับประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เขต 3. วิทยานิพนธ์ ค.ม. นครสวรรค์: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.

อรัญ มูลบุญ. (2558). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

อาฑิฏิยา โชคดีวัฒนา, ประยูร อิ่มสวาสดิ์ และชัยพจน์ รักงาม. (2561). ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลในการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนประถมศึกษา จังหวัดตราด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตราด. วารสารบัณฑิตวิทยาลัยพิชญทรรศน์, 13(2), 225–262.

อิลฮาม อาเก็ม. (2557). ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในจังหวัดสตูล. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. สงขล: มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.