แนวทางการบริหารงานวิชาการและกิจกรรมตามหลักสูตรในยุคปกติใหม่ ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดเลย

Main Article Content

Issara Chapakdee
Suchat Bangwiset
Sukhum Prommuangkun

Abstract

The purposes of this research were to 1) examine the current and desirable conditions on academic affairs administration and curriculum activities in the new normal era of the child development centers under the Local Government Organization of Loei Province, 2) establish guidelines for academic affair administration and curriculum activities in the new normal era of the child development centers, and 3) evaluate guidelines for academic affair administration and curriculum activities in the new normal era of the child development centers. Using Mixed-methods Research, the sample group consisted of 291 participants, including the Chief Administrator, the Director of the Education Division, educators, and childcare teachers. Research tools included a set of questionnaires on current and desirable conditions with the reliability of .95, a semi-unstructured interview, an assessment form, a group discussion record, and an assessment form for accuracy, feasibility, and utility. Statistics for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, and Modified Priority Needs Index.

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น. (2559). มาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย.

กิตติยา กาเร็ว. (2556). การบริหารงานวิชาการของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลําปาง เขต 3. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. พะเยา: มหาวิทยาลัยพะเยา.

เกษร ศรีพิทักษ์เที่ยงแท้. (2561). แนวทางการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนเทศบาลใน จังหวัดชัยนาท สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. วิทยานิพนธ์ ค.ม.นครสวรรค์: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.

จันทรานี สงวนนาม. (2553). ทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารสถานศึกษา. นนทบุรี: บุ๊คพอยท์ .

จรัสศรี เพ็ญสุภา. (2558). ปัญหาและแนวทางการพัฒนาการบริหารงานตามมาตรฐานด้านวิชาการและกิจกรรมตามหลักสูตร ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดพิจิตร. วิทยานิพนธ์ ค.ม. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม.

ชวพล วจีสิงห์. (2562). สภาพ ปัญหาและประสิทธิผลการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในจังหวัดอุดรธานี. วิทยานิพนธ์ ค.ม. สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

ณภัทร ตันศรี. (2557). ปัจจัยการบริหารที่ส่งผลต่อการดำเนินการงานวิชาการของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครนายก. วิทยานิพนธ์ ค.ม. ฉะเชิงเทรา: มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.

ณรงค์ ศาลา. (2559). การจัดการศึกษาของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นในจังหวัดมหาสารคาม. วิทยานิพนธ์ ค.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ธนกฤต หัตถีรัตน. (2563). รูปแบบการบริหารงานวิชาการของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. วิทยานิพนธ์ ค.ม. นครสวรรค์: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.

ธันยนันท์ บุญเสร็จ. (2558). สภาพการบริหารงานวิชาการและกิจกรรมตามหลักสูตรของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดเทศบาลตำบล จังหวัดสุรินทร์. วิทยานิพนธ์ ค.ม. บุรีรัมย์: มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.

นุชเรศ คำดีบุญ. (2564). การพัฒนาแนวทางการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 4. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ประเสริฐ บุญมี. (2554). ปัญหาการบริหารงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอำเภอชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์. การค้นคว้าอิสระ รป.บ. บุรีรัมย์: มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.

ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์.(2555). การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพฯ: ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ.

พรพรรณ อรุณเวช. (2557). การศึกษาสภาพการบริหารจัดการศึกษาสําหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดจันทบุรี. วิทยานิพนธ์ ค.ม. จันทบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี.

ศิรินนภา นามมณี. (2557). รูปแบบการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่มีประสิทธิผลสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. วารสารวิจัยและพัฒนา, 9(2), 114-126.

ศิวพร ละหารเพชร. (2562). ประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการสถานศึกษาขนาดเล็กตามความคิดเห็นของครู สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 2. วิทยานิพนธ์ ค.ม. สุราษฎร์ธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.

ศศิวิมล คำลือ. (2558). การดำเนินงานประกันคุณภาพภายในของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ ค.ม. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

สงวนพงศ์ ชวนชม. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารงานวิชาการกับประสิทธิผลของสถานศึกษาสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา. วารสารวิชาการสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย, 20(2), 59-68.

สายรุ้ง ปั้นเพ็ง. (2559).แนวทางการพัฒนาครูผู้ดูแลเด็กด้านวิชาการในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบล อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร. วิทยานิพนธ์ ค.ม. นครสวรรค์: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.

สำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร. (2554). แนวทางการบริหารจัดการคุณภาพโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร การบริหารงาบุคลากร. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ.

สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา องค์การมหาชน. (2558). รายงานการสังเคราะห์การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ.2554-2558) ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก. กรุงเทพฯ: สมศ.

สุวิมล มธุรส. (2564). การจัดการศึกษาในระบบออนไลน์ในยุค NEW NORMAL COVID-19. วารสารรัชต์ภาคย์, 40(1), 33-42.

หทัยรัตน์ ขมสวัสดิ์. (2558). ปัญหาและแนวทางการพัฒนาด้านวิชาการและกิจกรรมตามหลักสูตร ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อําเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์ กศ.ม.ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

Krejcie,R. V., & Morgan,D. W. (1970). Determining sample size for research activities. Educational and Measurement. U.S.A: November.

Likert, R. (1967). The Human Organization: Its Management and Value. New York: McGraw-Hill.

Madaus, G.F., Scriven, M.S., & Stufflebeam, D.L. (1982). Evaluation models viewpoints on educational and human services evaluation. (8thed.). Boston: Khuwer-Nijhoff Publishing.