แนวทางการพัฒนาคุณภาพการให้บริการงานก่อสร้างและขยายเขตระบบจำหน่ายภายใต้ นโยบายไทยแลนด์ 4.0 ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
Main Article Content
Abstract
This mixed-method research aimed to 1)investigate the service quality of construction and expansion of the Provincial Electricity Authority (PEA) distribution system in Hua Hin District, 2) examine the effects of the implementation of Thailand 4.0 policy on the service quality of construction and expansion of the PEA distribution system in Hua Hin District, and 3)establish guidelines for improving the service quality of construction and expansion of the PEA distribution system in Hua Hin District under Thailand 4.0 policy. The sample included 122 service users at the PEA in Hua Hin District and nine key informants. The confidence value of the alpha coefficient of the overall questionnaire was 0.917. Data were analyzed by using descriptive statistical methods, which were frequency percentage, mean, standard deviation, Chi-square test, and multiple regression analysis.
The research results revealed that: 1) The service quality of construction and expansion of the PEA distribution system in Hua Hin District, was rated at a high level; 2) The Thailand 4.0 policy focusing on innovation, technology, and creativity showed a causal relationship on the service quality at a significance level of .01; and
3) The guidelines for improving service quality involved the implementation of a Government Convenience Center (GECC) as a service quality standard, staff training in courteous and humble customer interactions, giving a clear and understandable explanation of process steps, ensuring staff possesses adequate knowledge and skills, providing continuous service advice to customers throughout the service process, delivering timely and efficient service, offering multiple channels for service recipients, and utilizing the PEA-VOC System as a customer feedback system.
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความทุกบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ถือว่าเป็นลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
References
การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค. (2561). แผนการดำเนินงานผู้ว่าการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (PEA 4). กรุงเทพฯ: การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค.
_______. (2562). ประวัติความเป็นมา. เข้าถึงได้จาก https://www.pea.co.th. 8 พฤศจิกายน 2564.
การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคอำเภอหัวหิน. (2565). สรุปสถานะ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2565. ประจวบคีรีขันธ์: งานก่อสร้างและขยายเขตระบบจำหน่าย การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์.
ขวัญฤทัย เดชทองคำ. (2563). ความสำคัญของคุณภาพการบริการสู่ความสำเร็จของธุรกิจท่องเที่ยวภายใต้วิกฤติ COVID-19. วารสารวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ, 21(3), 317-326.
ชาญธิวัฒน์ กิจสวัสดิ์. (2561). ปัจจัยการบริหารที่ส่งผลต่อคุณภาพการให้บริการสาธารณะแก่ประชาชน กรณีศึกษาเทศบาลเมืองไร่ขิง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม. วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย, 10(1), 335-353.
ปฐมพงค์ กุกแก้ว และวัชรพงษ์ เงินเรืองโรจน์. (2563). คุณภาพการให้บริการที่ส่งผลต่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคจังหวัดสุพรรณบุรี. วารสารวิชาการศรีปทุม ชลบุรี, 17(2), 55-63.
รุ่งนภา หอมสกุล. (2556). การบริหารระบบคุณภาพและคุณภาพการให้บริการของการประปาส่วนภูมิภาคสาขาเพชรบุรี. Veridian E-Journal, 6(1), 182-198.
วิบูลย์ เผือกฉุย. (2559). ความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อการให้บริการของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ตำบลบึง อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี. วารสารวิชาการเครือข่ายบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ, 6(10), 57-70.
วิวัฒน์ อยู่พร้อม. (2564). คุณภาพการให้บริการที่มีผลต่อความพึงพอใจในการใช้บริการของผู้ใช้ไฟฟ้าประเภทอยู่อาศัยในพื้นที่บริการของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคอำเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี. วารสารวิชาการการตลาดและการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, 8(1), 18-30.
ศักดิ์สิทธิ์ โพธิ์งาม. (2559). คุณภาพการให้บริการของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค สาขาม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี. วิทยานิพนธ์ บธ.ม. อุบลราชธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.
ศุภกัญญา จันทรุกขา. (2558). คุณภาพการให้บริการของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เขตอำเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี. ในการประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 6 (หน้า 570-583). สงขลา: มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.
โสรยา สุภาผล ชุติมา กลั่นไพฑูรย์ ลัดดาวัลย์ สำราญ และปภัสรา ติรภู. (2564). ปัจจัยนวัตกรรมและปัจจัยการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ที่ส่งผลต่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคจังหวัดสุพรรณบุรี. วารสารรัฐศาสตร์รอบรู้และสหวิทยาการ, 4(4), 33-48.
อนันดา เหมะ. (2555). ความสัมพันธ์ระหว่างนวัตกรรมการบริการ กับคุณภาพการให้บริการของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคเขต 3 (ภาคเหนือ) จังหวัดลพบุรี. วิทยานิพนธ์ บธ.ม. ลพบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี.
Green, S. B. (1991). How Many Subjects Dose It Take to Do a Regression Analysis. Multivariate Behavioral Research, 26(3), 499-510.
Kotler, P. (1994). Marketing management: analysis, planning, implementation and control. (8thed). Englewood Cliffs: Prenticc-Hall, Inc.
Layton, D. (1994). Research in education. (4thed.). New Jersey: Prentice Hall.
Parasuraman, A., Zeithaml, V. A. & Leonard L. B. (1994). Alternative Scales for Measuring Service Quality: A Comparative Assessment Based on Psychometric and Diagnostic Criteria. Journal of Retailing, 70 (Autumn 1994), 201–230.
Rossman, M. G. (1996). Viral cell recognition and entry. Curr. Sci, 71, 193-204.
Windrum, P. & Koch, M. P. (2008). Innovation in Public Sector Services: Entrepreneurship, Creativity and Management. Northampton, Ma: Edward Elgar.