การพัฒนาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ เรื่อง การประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล โดยใช้ PROMPT สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

Main Article Content

Bencharat Boonlon
Ajcharee Pimpimool
Suwat Banlue

Abstract

The research aimed to 1) examine the quality of lesson plans on data reliability assessment using PROMPT for Mathayomsuksa 3 students, and 2) develop the learning achievement test. The research sample consisted of five experts and 18 students. Statistics for data analysis included mean, standard deviation, item-objective congruence index, item difficulty, discriminative power, and Cronbach's alpha reliability coefficient.


The results revealed that 1) the overall quality of lesson plans was at the highest level with a mean score of 4.73 and a standard deviation of 0.45, and 2) the evaluation of the developed learning achievement test items resulted in the final version of the test comprising 43 items, with the item-objective congruence index ranging from 0.60 to 1.00, item difficulties ranging from 0.39 to 0.78, the discriminative power ranging from 0.22 to 0.78, and the reliability of 0.95.

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

กชพรรณ เภสัชชา. (2560). การสร้างแบบวัดความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. วิทยานิพนธ์ ค.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์ การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.

นวลจิตต์ เชาวกีรติพงศ์. (2560). การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์. Veridian E-Journal Silpakorn University, 10(1), 111-127.

บุญชม ศรีสะอาด. (2535). การวิจัยเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สุวิริยาสาส์น.

ปราณี หลำเบ็ญสะ. (2559). การหาคุณภาพของเครื่องมือวัดและประเมินผล. เข้าถึงได้จาก https://wb.yru.ac.th/handle/yru/1126. 10 พฤษภาคม 2565.

เปรมฤดี ไชยรัตน์. (2561). การออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาปลายเปิดทางคณิตศาสตร์ เพื่อส่งเสริมการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

พระวาณิช เร่คล่อง. (2564). การพัฒนาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ รายวิชาพระพุทธศาสนาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33. วิทยานิพนธ์ ค.ม. บุรีรัมย์: มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.

มณีญา สุราช. (2560). การวัดและประเมินผลการศึกษา. เข้าถึงได้จาก http://portal5.udru.ac.th/ebook/pdf/upload/18MRL86Gy5yt5rr6K8Lg. 10 พฤษภาคม 2565.

รมิตา เพ็ชรทับ. (2562). การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง โจทย์ปัญหาการบวกและการลบโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะ สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านนกงาง จังหวัดระนอง. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. นครศรีธรรมราช: วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้.