กระบวนการสื่อสารเพื่อสืบทอดภาษาเวียดนามของครอบครัวชาวไทยเชื้อสายเวียดนาม ในอำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม

Main Article Content

Natthaphon Chareerak
Wirat Wongpinunwatana

Abstract

The objectives of this qualitative research were to 1) investigate the communication process for Vietnamese inheritance, and 2) examine factors affecting Vietnamese inheritance among Thai-Vietnamese families in That Phanom District, Nakhon Phanom Province. Data were collected through in-depth interviews with a sample group of 20 participants, consisting of 1) five elderly people, 2) five middle-aged people, 3) five children and youth, and 4) five experts in Vietnamese language and culture, selected through purposive sampling. The research tool was an interview form. The data were analyzed inductively and summarized using descriptive analysis.


The results showed that: 1) The communication process for Vietnamese inheritance of Thai-Vietnamese families consisted of sources, messages, channels, receivers, and feedback. There was only a group of elderly individuals who acted as messengers and attempted to inherit the Vietnamese language; 2) the factors affecting the Vietnamese language inheritance of Thai-Vietnamese families included personal factors comprising language attitudes and proficiency, and social factors including families, schools, Thai-Vietnamese Association, and other government agencies.

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

กรรณิการ์ วรหาร. (2556). การสื่อสารอัตลักษณ์ความเป็นเวียดนามของคนไทยเชื้อสายเวียดนามในหมู่บ้านมิตรภาพไทย-เวียดนาม อำเภอเมือง จังหวัดนครพนม. วิทยานิพนธ์ ว.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

จตุพร ดอนโสม. (2551). การสร้างอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ของคนไทยเชื้อสายเวียดนามบ้านนาจอก ตำบลหนองญาติ อำเภอเมือง จังหวัดนครพนม. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

จิตกวี กระจ่างเมฆ. (2560). อนุรักษ์และสืบทอดภาษาถิ่น: ภาษาลาวคลั่ง อำเภอดอนตูม จังหวัดนครปฐม. วารสารวิชาการและวิจัย มทร. พระนคร สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 2(2), 10-26.

จิตรดารมย์ รัตนะวุฒิ. (2560). มาตรการทางกฎหมายในการส่งเสริมการอนุรักษ์และการคุ้มครองมรดกทางวัฒนธรรม: กรณีศึกษา การแสดงออกซึ่งศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน. วารสารนิติศาสตร์และสังคมท้องถิ่น, 1(1), 135–169.

ณรงค์ศักดิ์ คูบุญญอารักษ์. (2560). บทบาทของชาวไทยเชื้อสายเวียดนามในภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ สังคมแลวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาศักยภาพชุมชน. วิทยานิพนธ์ ปร.ด. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ณัฐพล ชารีรักษ์. (2563). การเลือกใช้ภาษาของนักเรียนกลุ่มชาติพันธุ์ผู้ไทในโรงเรียนธาตุพนม อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ณัฐพล ณ สงขลา. (2563). บทบาทของชาวไทยเชื้อสายเวียดนามในการส่งเสริมความสัมพันธ์ไทย-เวียดนาม: ศึกษาระหว่างปี ค.ศ. 2001-2019. รายงานการศึกษาส่วนบุคคล หลักสูตรนักบริหารการทูต. กรุงเทพฯ: สถาบันการต่างประเทศเทวะวงศ์วโรปการ กระทรวงการต่างประเทศ.

ทวี รุ่งโรจน์อุดมผล. สัมภาษณ์, 27 เมษายน 2564.

ธนทรัพย์ มีทรัพย์. (2549). พฤติกรรมการสื่อสารเพื่อการสืบทอดภาษาจีนในเขตชุมชนชาวจีนกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ นศ. ม. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นิภากร กำจรเมนุกูล. (2556). การสื่อสารการเมืองของชาวไทยเชื้อสายเวียดนามในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์ ปร.ด. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

เฟื่องฟ้า ลัยมณี. (2556). การผสมกลมกลืนทางสังคมและวัฒนธรรมของชาวไทยเชื้อสายเวียดนามในจังหวัดสกลนคร. วิทยานิพนธ์ ปร.ด. เชียงราย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.

ภัสร์ธีรา ฉลองเดช. (2559). สถานการณ์และทัศนคติการใช้ภาษาตากใบ ในอำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส. วิทยานิพนธ์ ปร.ด. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

มาฆะ ขิตตะสังคะ และคณะ. (2555). วัฒนธรรมและภาษาสื่อสารของกลุ่มชาติพันธุ์บริเวณภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย. รายงานการวิจัย. เชียงราย: สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.

ศิริรัตน์ ชูพันธ์ อรรถพลพิพัฒน์. (2556). ทัศนคติของคนกะเหรี่ยงที่มีต่อภาษากะเหรี่ยงและภาษาไทย. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี, 5(1), 137-162.

สิเนหา วังคะฮาด. (2542). ภาวะหลายภาษาในชุมชนบ้านท่าคอยนาง ตำบลสวาย อำเภอปรางค์กู่ จังหวัดศรีสะเกษ. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สุนทราภรณ์ ตาลกุล. (2557). การสื่อสารเพื่อการสืบทอดภาษาของกลุ่มชาติพันธุ์ในจังหวัดสกลนคร. วิทยานิพนธ์ นศ.ม. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

สุนทราภรณ์ ตาลกุล สุภาภรณ์ ศรีดี และไพบูรณ์ คะเชนทรพรรค์. (2559). การสื่อสารเพื่อสืบทอดภาษาถิ่นของกลุ่มชาติพันธุ์ในจังหวัดสกลนคร. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 13(63), 169–179.

เหงียน ถิ ถ่าว. (2552). อัตลักษณ์ของคนไทยเชื้อสายเวียดนามในเขตเทศบาลนครอุบลราชธานี. การค้นคว้าอิสระ ศศ.ม. อุบลราชธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.

เหนือขวัญ บัวเผื่อน. (2560). วัฒนธรรมการสืบทอดภาษาของชาวไทยเชื้อสายจีน ดอยแม่สลอง จังหวัดเชียงราย. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี, 11(3), 282–295.

Chareerak, N. & Wongpinanwatana, W. (2018). Phu Thai Language Transmission in Phu Thai Ethnic Group in Renu Nakhon District, Nakhon Phanom Province.In Jung, H. (Ed.), Proceedings of International Conference Commemorating the 60th Anniversary of Korea-Thailand Diplomatic Relations (pp. 273-282). Seoul, Korea: Department of Thai, Hankuk University of Foreign Studies.