การพัฒนาบทเรียนออนไลน์ เรื่องกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยวิธีการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน

Main Article Content

Pattarawan Autthasing
Ajcharee Pimpimool
Suwat Banlue

Abstract

The objectives of this research were to 1) develop online lessons on the engineering design process for Mathayomsuksa 2 students using a flipped classroom teaching method, 2) examine the quality of online lessons on the engineering design process for Mathayomsuksa 2 students using a flipped classroom teaching method. The sample for the study consisted of five experts, obtained through purposive sampling. The research tools were online lessons on the engineering design process for Mathayomsuksa 2 students using a flipped classroom teaching method and an assessment form for measuring the quality of the developed online lessons.  The statistics for data analysis were mean and standard deviation.


The results of the research showed that: 1) The ten online lessons on the engineering design process for Mathayomsuksa 2 students using a flipped classroom teaching method were structured, encompassing homework activities, including videos, knowledge sheets, additional learning resources, written lesson observation feedback following each lesson, and in-classroom activities involving worksheets and end-chapter quizzes. The learning achievement test and the student satisfaction questionnaire were also administered; 2) The overall quality of online lessons as perceived by the experts reached the highest level.

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545. กรุงเทพฯ: บริษัทพริกหวานกราฟฟิค.

จินดารัตน์ โพธิ์นอก. (2557). “ห้องเรียนกลับทาง” เดลินิวส์ (หนังสือพิมพ์ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก https://d.dailynews.co.th/article/217005/. 15 มกราคม 2565.

ธานินทร์ อินทรวิเศษ ธนวัตน์ พูลเขตนคร ธนวัตน์ เจริญษา นิตยา นาคอินทร์ และภาสกร เรืองรอง. (2562). เทคโนโลยีและนวัตกรรมกับการจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัล. Humanities, Social Sciences and arts, Veridian E-Journal, Silpakorn University, 12(6), 478-494.

เณศ์รัญญกาณฐ์ ปามุทาชาววาปี. (2557). ผลการเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์ประกอบสื่อการ์ตูน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา เรื่อง เมืองตักสิลานคร เพื่อส่งเสริมจิตสำนึกอนุรักษ์บ้านเกิดสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 กับการเรียนแบบปกติ. วารสารการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 21(1), 96–109.

นวพัฒน์ เก็มกาแมน. (2558). ผลของการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านด้วยบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 2 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์ วท.ม. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.

นิตยา ดกกลาง. (2560). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง โดยใช้วิธีการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน. วิทยานิพนธ์ ค.อ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.

เบญจพร ตีระวัฒนานนท์. (2563). การพัฒนาบทเรียนออนไลน์ตามแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน เรื่อง การสร้างภาพกราฟิกโดยโปรแกรมนำเสนอ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนปลาย. วารสาร e-Journal of Education Studies, Burapha University, 2(2), 16-30.

เบญจพร สุคนธร. (2561). แนวทางการใช้ห้องเรียนกลับด้านในการเรียนการสอนวิชาเคมีสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ. วิทยานิพนธ์ ค.ม. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พฤทธิวรรณ ช่วงพิทักษ์. (2560). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับทางร่วมกับการเรียนรู้เชิงรุกด้วยบทเรียนอีเลิร์นนิ่ง เรื่องการนำเสนอข้อค้นพบด้วยสื่อเทคโนโลยี. วิทยานิพนธ์ วท.ม. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.

ภัทรจาริน บํารุงกูล. (2564). การพัฒนาบทเรียนออนไลน์โดยผสมผสานแนวคิดบทเรียนแสวงรู้บนเว็บ (WebQuest) ร่วมกับห้องเรียนกลับด้าน (Flipped Classroom) เพื่อพัฒนาทักษะดนตรี (การเป่าขลุ่ยเพียงออ) สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 18(80), 45-54.

มิ่งขวัญ ชอบบุญ. (2562). การจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบห้องเรียนกลับด้านเพื่อส่งเสริมความสามารถในการรับรู้การเรียนรู้แบบนำตนเองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง อาหารและการดำรงชีวิต. วิทยานิพนธ์ ค.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

ยุภาพร ด้วงโต้ด. (2561). การจัดการเรียนรู้โดยใช้ห้องเรียนกลับด้าน เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์สำหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

วิจารณ์ พานิช. (2556). ครูเพื่อศิษย์สร้างห้องเรียนกลับด้าน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์เอส.อาร์.

สุจิรา สิทธิศาสตร์. (2553). การพัฒนาทักษะการฟังภาษาไทยขั้นพื้นฐานสำหรับนักเรียนชาวต่างประเทศ โดยใช้บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์บนเครือข่าย. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

สุพัตรา อุตมัง. (2558). แนวคิดห้องเรียนกลับด้าน: ภาพฝันที่เป็นจริงในวิชาภาษาไทย. วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 16(1), 51-58.

อภัสรา ไชยจิตร์ และณมน จีรังสุวรรณ. (2558). Flipped Classroom: เรียนที่บ้านทำการบ้านที่โรงเรียน. วารสารพัฒนาเทคนิคศึกษา, 27(94), 22.