ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต 2

Main Article Content

Wallrawut Tharvornsap
Linda Narkpoy
Saifon Sekkhunthod

Abstract

The objectives of this research were to examine 1) the level of factors relating to the professional learning community (PLC) schools; 2) the level of being PLC schools; 3) the correlation between factors and PLC schools; and 4) the factors influencing PLC schools. The sample consisting of 302 participants, including school administrators and teachers, was selected by using Krejcie and Morgan's table for the sample size determination, and multi-stage random sampling. The research instruments consisted of a set of questionnaires on factors affecting the PLCs in schools with the reliability of .918 and a set of questionnaires on the PLCs in schools with the reliability of .901. The statistics for data analysis were percentage, mean, standard deviation, Pearson's product-moment correlation coefficient, and multiple regression analysis.


The research findings revealed that: 1) Overall, the factors associated with being PLC schools, as well as those of each aspect, were rated at a high level across all aspects, ranking by mean values from high to low: organizational atmosphere, organizational culture, transformational leadership, and organizational structure, respectively; 2) The PLC schools, ranked by mean values from high to low, overall and in each aspect at a high level: collaboration, working toward shared goals, creating shared norms and values, reflecting on practice, and being receptive to performance advice, respectively; 3) The factors and the PLC schools showed a high positive correlation at the .01 level of significance; and 4) The factors influenced PLC schools at the statistical significance of .01 level, including organizational structure, organizational culture, transformational leadership, and organizational atmosphere. The said factors could predict the PLC school at 53.70 percent. The predictive equation could be written in a form of standard scores as Z'Y= .295Z2 +.239Z3 +.215Z4 +.129Z1.

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

ณัฐิกา นครสูงเนิน. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารกับการเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 1. วารสารวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏเลย, 10(31), 7.

นาถลดา บุษบงค์. (2563). สภาพชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1. วิทยานิพนธ์ ค.ม. บุรีรัมย์: มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.

ปสุดา เพ็งประสพ. (2550). การศึกษาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนเซ็นต์หลุยส์ จังหวัดฉะเชิงเทรา. วิทยานิพนธ์ ค.ม. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

พิสมัย รบชนะชัยพูลสุข. (2559). แนวทางพัฒนาปัจจัยที่ส่งผลต่อการสร้างชุมชนการเรียนรู้ในโรงเรียน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากําแพงเพชร เขต 1. การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร ครั้งที่ 3. วันที่ 22 ธันวาคม 2559 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร จังหวัดกำแพงเพชร. หน้า 251-259.

มนตรี แย้มกสิกร. (2559). ชุมชนการเรียนรู้วิชาชีพ. ในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภาประจำปี 2559 กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา.

มูลนิธิสถาบันวิจัยระบบการศึกษา. (2558). คู่มือการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพในโรงเรียนสุขภาวะ. คณะศึกษาศาสตร์: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

วาสนา ทองทวียิ่งยศ. (2560). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพครูในสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา. วิทยานิพนธ์ ค.ม. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

วิจารณ์ พานิช. (2556). วิธีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: ตถาตาพับลิเคชั่น.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต 2. (2563). แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2563. สระแก้ว: สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต 2.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2). กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค จำกัด.

สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา. (2564). หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่ง ครู. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.

สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา. (2552). เอกสารประกอบการดำเนินงานของ ศมจ. และ อสคบ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภา.

________. (2561). ประกาศสำนักงานเลขาธิการคุรุสภา เรื่อง แนวทางการส่งเสริมสนับสนุนเครือข่ายพัฒนาวิชาชีพครูและบุคลากรทางการศึกษาแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้ ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ประจำปี 2561. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579. กรุงเทพฯ: พริกหวาน กราฟฟิค.

สำนักพัฒนาครูและบุคลากรการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2560). คู่มือประกอบการอบรมการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC (Professional Learning Community) “ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ” สู่สถานศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.

สุนันทา สุขเอี่ยม. (2563). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของโรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยนาท. วิทยานิพนธ์ ค.ม. นครสวรรค์: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.

สุมารี สะโรบล. (2562). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการเป็นชุมชนแห่งการ เรียนรู้ทางวิชาชีพ ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2. วิทยานิพนธ์ ค.ม. ฉะเชิงเทรา: มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.

สุวิมล ว่องวาณิช. (2561). การประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ประจำปี 2561. กรุงเทพฯ: สํานักงานเลขาธิการคุรุสภา.

หนึ่งฤทัย สีหะวงษ์. (2562). ปัจจัยการบริหารที่ส่งผลต่อการเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของ โรงเรียนในสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 22. วิทยานิพนธ์ ค.ม. นครพนม: มหาวิทยาลัยนครพนม.

อิทธิศักดิ์ ศิริจันทร์. (2563). ความสัมพันธ์ระหว่างบรรยากาศองค์การกับชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของครูในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดศึกษาธิการสระบุรี. วิทยานิพนธ์ ค.ม. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

Krejcie, R.V., & D.W. Morgan. (1970). Determining Sample Size for Research Activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3), 607-610.

Likert, Rensis. (1967). The Method of Constructing and Attitude Scale. In Reading in Fishbeic, M (Ed.). Attitude Theory and Measurement. New York: Wiley & Son.