สภาพและความต้องการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพครู และสมรรถนะทางการเรียนรู้ ของผู้เรียน ในสังกัดคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จังหวัดสกลนคร

Main Article Content

Pundita Intharaksa

Abstract

The objectives of this research were to 1) examine the conditions and needs for developing professional competency of teachers and school administrators, and 2) investigate the conditions and needs for developing learning competency of learners under the Basic Education Commission, Sakon Nakhon Province. The sample group consisted of 590 participants, which included school administrators, teachers, primary school students, and secondary school students. The researcher determined the sample size using the Krejcie & Morgan sample size table. The research instrument was a set of 5-level scale questionnaires. The collected data were analyzed by percentage, mean, and standard deviation. The research results showed that 1) the overall level of self-practice in core competency was high, with functional competency being at the highest level, with means of 4.42, and 4.54, respectively; 2) The overall level of self-improvement needs in core competency was high, with functional competency being at the highest level, with means of 4.46, and 4.55, respectively; 3) The level of self-practice based on students’ competency was overall at a high level, with a mean of 4.02, and 4) the level of self-improvement needs based on students’ competency was overall at the highest level, with a mean of 4.55.

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

กามนิต บุตรดา. (2561). การจัดกิจกรรมตามนโยบาย ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ที่ส่งผลต่อการพัฒนาการการเรียนรู้ของผู้เรียนในโรงเรียนขนาดเล็ก. วิทยานิพนธ์ ค.ม. จันทบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี.

จิตติมา วรรณศรี. (2552). คุณภาพการศึกษากับสมรรถนะของครูที่พึงประสงค์. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 32(1), 1-5.

ธัญลักษณ์ รุจิภักดิ์ และเอมม่า อาสนจินดา. (2557). การรับรู้เจตคติต่อแนวทางการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเชิงจริยธรรวิชาชีพครู. วารสารสุทธิปริทัศน์, 28(88), 230-254.

บุญชม ศรีสะอาด. (2553). การวิจัยเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

พิมพันธ์ เดชะคุปต์และพรทิพย์ แข็งขัน. (2551). สมรรถนะครูและแนวทางการพัฒนาครูในสังคมที่เปลี่ยนแปลง. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.

มานิตย์ นาคเมือง. (2552). รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะประจำสายงานครูผู้สอน ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. วิทยานิพนธ์ กศ.ด. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.

วนิดา สุวรรณนิพนธ์. (2560). ศักยภาพทุนมนุษย์และความสามารถเชิงพลวัตของผู้ประกอบการในอุตสาหกรรม ซอฟต์แวร์ไทยเพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 10(3), 1-20.

วิรัช วรรณรัตน์ และ โกสุม สายใจ. (2555). คุณลักษณะผู้นำเชิงจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพครูของคณาจารย์ระดับอุดมศึกษาเครือข่ายวิชาการเบญจมิตรและเครือข่ายวิจัยประชาชื่น. รายงานวิจัย นนทบุรี: คณะศิลปศาสตร์ วิทยาลัยราชพฤกษ์.

สุวรรณี หาญกล้า. (2550). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะของครูกับการปฏิบัติกิจกรรมทางวิชาการเกี่ยวกับการพัฒนาวิชาชีพครู สำนักงานอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์ กศ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2553). คู่มือการประเมินสมรรถนะครูสังกัดสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2552). ข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552-2561). กรุงเทพฯ: บริษัท พริกหวานกราฟิค จำกัด.

สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2558). คู่มือการบริหารจัดการเวลาเรียน ตามนโยบาย “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”. เข้าถึงได้จาก http://www.kroobannok.com/76716. 25 ตุลาคม 2564.

Krejcie, R.V. and Morgan, D.W. (1970). Determining sample size for research activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3), 608.

Linda Godzicki, Nicole Godzicki, Mary Krofel, Rachel Michaels. (2013). Increasing Motivation and Engagement in Elementary and Middle School Students through Technology -Supported Learning Environments. Research Project. M.A. (Teaching and Leadership). Illinois: Saint Xavier University Chicago.

Likert, R. (1967). The human organization: Its management and values. New York: McGraw Hill.