ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคมและสิ่งแวดล้อม (STSE) ร่วมกับการออกแบบ infographic โดยใช้ canva ที่มีต่อความตระหนักรู้ต่อสิ่งแวดล้อม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 : การวิจัยปฏิบัติการ

Main Article Content

Nithis Thongpak
Usanee Lalitpasan

Abstract

This action research aimed to 1) develop innovative learning management based on science, technology, society and environment (STSE) education with infographic design using Canva affecting environmental awareness, 2) examine the effects of the developed learning management, and 3) examine good practices derived from organizing the developed learning management. The target group consisted of 37 students of Mathayomsuka 1 studying in the second semester of the academic year 2021. Research instruments consisted of 1) lesson plans based on STSE education with infographic design using Canva, 2) a learning management reflection form, and 3) a 30-item assessment form on global warming awareness for lower secondary school students.


The research results showed that


1. All elements of lesson plans based on STSE education with infographic design using Canva affecting environmental awareness achieved the highest level of appropriateness. The developed reflection form of learning management could be used as a tool in learning management.     


2. The students’ environmental awareness ranged from moderate to very high levels. With the help of Canva, the students were able to create posters to encourage or persuade individuals who view and read them to enhance self-performance and raise environmental awareness.


3. Good practices obtained from the learning management based on STSE education with infographic design using Canva affecting environmental awareness comprised 1) examining documents and research studies comprehensively, 2) employing a variety of processes in analyzing problems and collaborating with teachers from various subjects, 3) reflecting on each step of the six learning management procedures using various approaches, 4) providing feedback or suggestions to improve the products, and 5) publishing the students' results and the teachers' learning management through multiple channels.

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

ฉันทนา เชาว์ปรีชา. (2562). การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อสร้างความตระหนักเรื่องสิ่งแวดล้อมของนักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนต้นโดยใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นสูง ผ่านการศึกษาเสื้อผ้าที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 42(2), 51-64.

นิดาวรรณ บุญอินทร์. (2558). การพัฒนาแบบวัดความตระหนักเกี่ยวกับภาวะโลกร้อนของนักเรียนขั้นมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุทัยธานี เขต 1. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. กรุงเทพฯ: .มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

บุญชม ศรีสะอาด. (2540). การวิจัยทางการวัดและประเมินผล. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

ประภัสสร กองทอง. (2563). การพัฒนาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่าน Facebook โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เรื่อง การออกแบบและพัฒนาอินโฟกราฟิก ของนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครูคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล. สิกขา วารสารศึกษาศาสตร์, 7(2), 126-138

รุ่งทิวา กองสอน. (2562). การสร้างความตระหนักต่อสิ่งแวดล้อมของนิสิตวิชาชีพครู ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคมและสิ่งแวดล้อม. วารสารวิชาการเซาธ์อีสท์บางกอก, 5(1), 25-36.

ลักษิกา นาไข่และอังคณา อ่อนธานี. (2560). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคมและสิ่งแวดล้อม เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดแก้ปัญหาและจิตสำนึกต่อสิ่งแวดล้อม เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 11(2), 174-189

วิทัศน์ ฝักเจริญผลและคณะ. (2563). ความพร้อมในการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ภายใต้สถานการณ์ระบาดไวรัส Covid-19. วารสารศาสตร์การศึกษาและการพัฒนามนุษย์, 4(1), 44-61

สถาพร สาดแล่น. (2563). การศึกษาผลการเรียนรู้การออกแบบอินโฟกราฟฟิกของนักเรียนโดยใช้โครงงานเป็นฐาน. การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติมหาวิทยาลัยศรีปทุม ครั้งที่ 15 ประจำปี 2563. (หน้า 1364-1372). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลยัศรีปทุม

ซาวสุภา, สายรุ้ง. (2561). ผลของการเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน เรื่อง แนวคิดเคมีสีเขียว ที่มีต่อความสามารถในการวิเคราะห์และความตระหนักต่อสิ่งแวดล้อมของนิสิตวิชาชีพครู. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 9(2), 277-296.

Kemmis, S. & McTaggart, R. (1990). The Action Research Planner. Australia: Deakin University

Roy Ballantyne, Jan Packer & John Falk. Visits’ learning for environmental sustainability: testing short and longterm impacts of wildlife tourism experiences using structural equation modelling. Retrieved from https://espace.library.uq.edu.au/. October 1st, 2022.