ผลของการฝึกความจำขณะทำงานที่มีต่อความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบ 1) ความคิดสร้างสรรค์ และ 2) ความจำขณะทำงานของนักเรียนกลุ่มทดลองที่ได้รับการฝึกความจำขณะทำงานกับกลุ่มควบคุมที่ไม่ได้รับการฝึกความจำขณะทำงาน กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนอุดรคริสเตียนศึกษา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 2 ห้องเรียน รวม 30 คน สุ่มห้องเรียนเป็นกลุ่มทดลอง 1 กลุ่มมีนักเรียน 12 คนและกลุ่มควบคุม 1 กลุ่มมีนักเรียน 18 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วย 1) แบบวัดความคิดสร้างสรรค์ และ 2) แบบวัดสมรรถนะทางสมองฉบับภาษาไทย ระดับอนุบาลและประถมศึกษา ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนกลุ่มทดลอง มีความสามารถในการคิดสร้างสรรค์สูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. นักเรียนกลุ่มทดลองมีความจำขณะทำงานสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความทุกบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ถือว่าเป็นลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
References
กรมวิชาการ. (2545). การจัดการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมตามหสักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์การศาสนา.
________. (2546). ความคิดสร้างสรรค์ หลักการ ทฤษฎี การเรียนการสอน การวัดผลประเมินผล. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว. กระทรวงศึกษาธิการ. (2544). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
________. (2560). หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560. กรุงเทพฯ: สำนักงานวิชาการ และมาตรฐานการศึกษา.
กิตติศักดิ์ วรรณทอง, ทัศนีย์ บุญเติม และ ปณศพร วรรณานนท์. (2556). ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์สมรรถนะสมองเชิงพุทธิปัญญาและผลงานสร้างสรรค์ของนักเรียนที่เรียนรู้ด้วยการใช้สื่อพหุผัสสะที่ใช้ความรู้ประสาทวิทยาศึกษาศาสตร์เป็นฐานประกอบการสอน. วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, 8(2), 56-69.
กัลยา ภู่ทอง. (2554). การพัฒนาผลการเรียนรู้ ความคิดสร้างสรรค์ และความเข้าใจที่คงทน เรื่อง สิ่งแวดล้อมรอบตัวของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบซินเนคติคส์. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2546). การคิดเชิงสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ: ซัคเซสมีเดีย.
เจนจิรา วิยาสิงห์, ไพโรจน์ เติมเตชาติพงษ์, สุวิทย์ อุปสัย, และ ยุพดี สุวรรณศร. (2560). การศึกษาความสามารถเชิงพุทธิปัญญา ความสามารถเชิง metacognition และผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน เรื่อง ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้รูปแบบการสอน cMEN. วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, 12,(4), 8-22.
นฤมล จันทร์สุขวงค์. (2551). การวิจัยและพัฒนาแผนกิจกรรมโครงงานที่ประยุกต์ใช้กระบวนการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ ทักษะการทำงานกลุ่มและคุณภาพผลงานของนักเรียนประถมศึกษา. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ดุษิต พรหมชนะ. (2562). เอกสารประกอบการอบรม“การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมกระบวนการคิดของโรงเรียนในสังกัดมูลนิธิสภาคริสตจักรในประเทศไทย” เมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2562. ณ สำนักงานพันธกิจสภาคริสตจักรในประเทศไทย.
นิวัติ ต่อนี, ทัศนีย์ บุญเติม และ สุภาพร มัชฌิมะปุระ.(2557) ผลการใช้รูปแบบการสอนที่อาศัยแนวคิดประสาทวิทยศึกษาศาสตร์เป็นฐานที่มีต่อความตั้งใจ ความจำขณะทำงาน และความสามารถในการพัฒนานวัตกรรม. วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, 9(3), 18-29.
ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2552). กลยุทธ์การขับเคลื่อนนวัตกรรมการเปลี่ยนผ่านการศึกษา “สัตตศิลา” สู่โรงเรียน. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. กรุงเทพฯ: คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วิไล รักงาม. (2553). การเปรียบเทียบความคิดสร้างสรรค์และทักษะปฏิบัติทางการวาดภาพระบายสีของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ระหว่างการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้กับแบบวัฏจักรการเรียนรู้. วิทยานิพนธ์ ค.ม. พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.
สุวิทย์ อุปสัย, พรพิมล ผาพิมูล, ไพโรจน์ เติมเตชาติพงศ์ และ สุพรรณี ปูนอน. (2562). ความสามารถเชิงพุทธิปัญญา ความเครียดและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนมัธยมต้นที่เกิดจากรูปแบบการสอน CMEN. วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, 14(2), 1-16.
สุวิทย์ อุปสัย ทัศนีย์ บุญเติม วาสนา รุ่งอนุรักษ์ และเทวินทร์ สินธุมัด. (2563). การพัฒนาแบบวัดสมรรถนะทางสมองฉบับภาษาไทยระดับอนุบาลและประถมศึกษา: ความตั้งใจและความจำขณะทำงาน. วารสารสำนักวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 29(1), 36-40.
อารี พันธ์มณี. (2546). ความคิดสร้างสรรค์สู่ความเป็นเลิศ จินตนาการสำคัญกว่าความรู้. กรุงเทพฯ: ภาควิชาการแนะแนวและจิตวิทยาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
Baddeley, A.D. & Hitch, G.J.L. (1974). Working Memory, In G.A. Bower (Ed.). The Psychology of Learning and Motivation: Advances in Research and Theory, 8, 47-89.
Benedek, M., Jauk, E., Sommer, M., Arendasy, M., & Neubauer, A. C. (2014). Intelligence, creativity, and cognitive control: the common and differentia involvement of executive functions in intelligence and creativity. Elsevier, 46(1), 73–83. DOI:10.1016/j.intell.2014.05.007.
Carretti B., Cornoldi C., De Beni R., & Romanò M. (2005) Updating in working memory: a comparison of good and poor comprehenders. J Exp Child Psychol, 91(1), 45-66. doi: 10.1016/j.jecp.2005.01.005. PMID: 15814095.
Ecker, L., Oberauer & Chee (2010). The Components of Working Memory Updating: An Experimental Decomposition and Individual Differences; Journal of Experimental Psychology Learning Memory and Cognition, 36(1), 170-89DOI:10.1037/a0017891.
Gilhooly, K.J., Fioratou. E., Anthony, S.H., & Wynn, V. (2007). Divergent thinking: strategies and executive involvement in generating novel uses for familiar objects. British .Journal of Psychology, 98(Pt 4), 611-625.
Oberauer, K., Süß, H-M.,Wilhelm, O. & Wittmann, W. (2003). The multiple faces of working memory: Storage, processing, supervision, and coordination. Intelligence, 31(2), 167-193. 10.5167/uzh-97155.
Morin, A. (2014). Understanding executive functioning issues. USA.: UNDERSTOOD.
Remoli, T. C., & Santos, F. H. (2017). Interactions between working memory and creativity: A systematic review. Psicologia em Estudo, 22(1), 53–65. https://doi.org/10.4025/psicolestud.v22i1.32518.
Shepherd, J., & Huganir, R., (2007). The Cell Biology of Synaptic Plasticity: AMPA Receptor Trafficking. Annual review of cell and developmental biology, 23, 613-643. 10.1146/annurev.cellbio.23.090506.123516.
Smeekens, B. A., & Kane, M. J. (2016). Working Memory Capacity, Mind Wandering, and Creative Cognition: An Individual-Differences Investigation into the Benefits of Controlled Versus Spontaneous Thought. Psychology of aesthetics, creativity, and the arts, 10(4), 389–415. https://doi.org/10.1037/aca0000046.
Southard, E. M., (2014). Examining the Relationships Among Working Memory, Creativity, and Intelligence. UNF Graduate Thesos and Dissertations, 548. https://digitalcommons.unf.edu/etd/548.
Takeuchi, H., Taki, Y., Nouchi, R., Yokoyama, R., Kotozaki, Y., Nakagawa, S., Sekiguchi, A., Iizuka, K., Hanawa, S., Araki, T., Miyauchi, C. M., Sakaki, K., Sassa, Y., Nozawa, T., Ikeda, S., Yokota, S., Magistro, D., & Kawashima, R. (2020). Originality of divergent thinking is associated with working memory–related brain activity: Evidence from a large sample study. NeuroImage, 216, Article 116825. https://doi.org/10.1016/j.neuroimage.2020.116825
Uopasai, S., Bunterm, T., Muchimapura, S., & Tang, K.N. (2017). The Effect of Working Memory
Training on the Behavioral, Electrophysiological and Achievement Change. The Turkish Online. Journal of Educational Technology – December 2017, Special Issue for INTE 2017, 331-339.
______. (2018). The Effect of Constructivism, Metacognition and Neurocognitive based Teaching: Model to Enhance Veterinary Medicine Students’ Learning Outcomes. Pertanika J. Soc. Sci. & Hum, 26(4), 2313 - 2331.
______. (2019). An Investigation on the P300 Event-related Potential and Brain Topographical Organization of Veterinary Medicine Students through Working Memory Training. International Journal of Pharmaceutical Research, 11(1), 299-305.