ปัจจัยการบริหารที่ส่งผลต่อการดำเนินงานตามมาตรฐานของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในจังหวัดระยอง

Main Article Content

Sarawut Wiboolkul
Kanporn Kanporn
Niwat Noymanee

Abstract

The objectives of this research were to examine 1) the level of administrative factors of childcare centers, 2) the level of the standards-based implementation of childcare centers, 3) the relationship between administrative factors and the standards-based implementation of childcare centers, and 4) administrative factors affecting the standards-based implementation of childcare centers under local government organizations in Rayong. The sample consisted of 217 childcare teachers. Krejcie and Morgan's table was used to calculate the sample size. The research instrument was a 5-rating scale questionnaire with the reliability of .98. The statistics for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, Pearson’s product-moment correlation coefficient, and Multiple regression analysis.


            The research findings revealed that: 1) The level of administrative factors of childcare centers overall and in each aspect was at a high level, ranking by the mean scores from high to low: budget, organization structures, information technology, strategy, and personnel, 2) The level of the standards-based implementation of childcare centers overall and in each aspect was at a high level, ranking by the mean scores from high to low: taking care and organizing learning experiences, child’s quality, and child development center management, 3)The relationship between administrative factors and the standards-based implementation of childcare centers was at a high positive correlation with a .05 level of significance, and 4) Administrative factors in terms of budget and personnel affected the standards-based implementation of childcare centers with a .05 level of significance. The said variables were able to predict the standards-based implementation of childcare centers at 58.50%. The predictive equation could be written in form of standard scores as Z'Y = .477Z5 + .318Z1  

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

กระทรวงมหาดไทย. (2562). มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ มติคณะรัฐมนตรีเห็นชอบ เมื่อวันที่ 2 มกราคม 2562 . กรุงเทพฯ: กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น.

________. (2562). คู่มือการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ระดับการศึกษาปฐมวัย และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย. กรุงเทพฯ: กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). หลักสูตรปฐมวัย 2560. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.

ขวัญใจ สุดรัก. (2553). ปัจจัยการบริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการดำเนินงานตามมาตรฐานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดปทุมธานี. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. ปทุมธนี: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

จารุณี อินทร์เพ็ชร. (2559). องค์ประกอบของการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่ส่งผลต่อคุณภาพของผู้เรียนตามมาตรฐานกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดประจวบคีรีขันธ์. วิทยานิพนธ์ ค.ม. เพชรบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี.

จิราวุฒิ สีมารักษ์. (2553). การดำเนินงานจัดการศึกษาศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตามมาตรฐานกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นในจังหวัดเลย. วิทยานิพนธ์ ค.ม. เลย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.

จันทร์นภาเพ็ญ ทินราช. (2560). การยกระดับมาตรฐานการศึกษาศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านหนองแวง อำเภอพระยืน จังหวัดขอนแก่น. ดุษฎีนิพนธ์ ศษ.ด. ขอนก่น: มหามกุฏราชวิทยาลัย.

โชติ บดีรัฐ. (2558). เทคนิคการบริหาร. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นภสร โสมศรีแพง. (2556). การดำเนินงานตามมาตรฐานศูนย์เด็กเล็กแห่งชาติ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในอำเภอนาแก จังหวัดนครพนม. วิทยานิพนธ์ ค.ม. นครพนม: มหาวิทยาลัยนครพนม.

บุญชม ศรีสะอาด. (2553). การวิจัยเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

บัญชา ศิริเรืองชัย. (2551). ปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในโรงเรียนเขตตรวจราชการที่ 6. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ประจักร บัวผัน. (2554). หลักการบริหารสาธารณสุข. (พิมพ์ครั้งที่ 3). ขอนแก่น: คณะสาธารณสุข มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ประภัสรา เทพศาสตรา. (2553). ปัจจัยการบริการที่ส่งผลต่อการบริหารงานโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดโรงเรียนเทศบาล จังหวัดระยอง. วิทยานิพนธ์ ค.ม. ฉะเชิงเทรา: มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.

พงษ์พันธ์ แซ่แต้. (2560). ปัจจัยการบริหารงานที่ส่งผลต่อการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในของโรงเรียน กลุ่มโรงเรียนนิคมพัฒนา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

ราตรี สอนดี. (2559). ปัจจัยการบริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพงานวิชาการ ของโรงเรียนในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิ. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

วิภาพร ยืนยง. (2560). ปัจจัยการบริหารที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการดำเนินงานของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี. วิทยานิพนธ์ ค.ม. อุบลราชธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.

ศักดิ์ศิริ คามดิษฐ์. (2556). การดำเนินงานตามเกณฑ์มาตรฐานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดสุรินทร์. วิทยานิพนธ์ ค.ม. สุรินทร์: มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์.

สุภาพร ผลรักษา. (2558). การดำเนินงานจัดการศึกษาศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตามมาตรฐานกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นเทศบาลตำบล จังหวัดกาฬสินธ์. วิทยานิพนธ์ ค.ม. กาฬสินธุ์: มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธ์.

สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา. (2563). ผลการประเมินคุณภาพภายนอก. เข้าถึงได้จาก http://aqa.onesqa.or.th/Summary Report.aspx. 30 มิถุนายน 2563.

สำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. (2563). รายงานผลการประเมินสร้างความเข้มแข็งการศึกษาปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. ระยอง: กระทรวงมหาดไทย.

สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. (2562). คำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา.

สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดระยอง. (2560). แผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดระยอง พ.ศ. 2562-2565. จังหวัดระยอง: ศึกษาธิการ.

Krejcie, R. V., & Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research activities. Educational and Measurement.

Likert, Rensis. (1961). The human organization: Its management and vale. New York: McGraw-Hill.