ทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการดำเนินงานตามมาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในจังหวัดฉะเชิงเทรา
Main Article Content
Abstract
The objectives of this research were to examine 1) the level of school administrators’ administrative skills,
2) the level of operations following the early childhood education standard of child development centers, 3) the relationship between the administrative skills of school administrators and operations following the early childhood education standard of child development centers, and 4) school administrators’ administrative skills affecting operations following the early childhood education standard of child development centers. The sample consisted of 269 school administrators and teachers. The research instrument was a set of questionnaires. The statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, Pearson's product-moment correlation coefficient, and Multiple regression analysis.
The research findings found that: 1) The level of school administrators’ administrative skills overall and in each aspect was high when ranking the mean scores from high to low: conceptual skills, human relation skills, educational and instructional skills, and technical skills, respectively; 2) The level of operations following the early childhood education standard of child development centers overall and in each aspect was high when ranking the mean scores from high to low: intellectual, social, physical, and emotional development, respectively; 3) The relationship between the administrative skills of school administrators and operations following the early childhood education standard of child development centers was at the highest positive correlation at the .01 level of significance; and 4) School administrators’ administrative skills in terms of human relation skills, conceptual skills, educational and instructional skills, and technical skills affected operations following the early childhood education standard of child development centers at a .01 level of significance, and could predict the operations following the early childhood education standard of child development centers at 79.40 %. The predictive equation could be written in a standard score form as Z'Y = .423Z2 + .232Z3 + .240Z4 + .172Z1.
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความทุกบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ถือว่าเป็นลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
References
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. (2553). มาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: กระทรวงมหาดไทย.
. (2560). คู่มือแนวทางการจัดทำหลักสูตรของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. นนทบุรี: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
. (2561). ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ. ม.ป.พ.
กิตติภัก สีหาไชย. (2563). ทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาที่สงผลตอประสิทธิผลการประกันคุณภาพภายนอกของโรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดหนองบัวลําภู. วารสารวิชาการวิทยาลัยสันตพล, 6(2), 109.
จันทรานี สงวนนาม. (2553). ทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารสถานศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: บุ๊คพอยท์
จารุณี อินทร์เพ็ชร. (2559). องค์ประกอบของการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่ส่งผลต่อคุณภาพของผู้เรียนตาม มาตรฐานกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดประจวบคีรีขันธ์.วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยศิลปากร สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, 9(2), 479.
จาฏพัทจ์ ศรีสุข. (2564). ความสัมพันธ์ระหว่างทักษะการบริหารกับการบริหารงานตามมาตรฐานการดำเนินงานของหัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดลพบุรี. วารสารราชพฤกษ์, 19(1), 45.
ชนิตา พลายแก้ว. (2562). ทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการดำเนินงานตามมาตรฐาน การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาราชบุรี เขต 2. วิทยานิพนธ์ ค.ม. นครปฐม:มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.
ดำรงค์ ก๋าเร็ว. (2563). ความสัมพันธ์ระหว่างทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลด้านวิชาการของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. พะเยา:มหาวิทยาลัยพะเยา.
ทิศนา แขมมณี. (2558). ศาสตร์การสอน องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสทธิภาพ. (พิมพ์ครั้งที่ 19). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ธีรศักดิ์ อุปไมยอธิชัย และคณะ. (2557). พื้นฐานการจัดการการศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นภสร โสมศรีแพง. (2556). การดำเนินงานตามมาตรฐานศูนย์เด็กเล็กแห่งชาติองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในอำเภอนาแก จังหวัดนครพนม. วิทยานิพนธ์ ค.ม. นครพนม: มหาวิทยาลัยนครพนม.
นันท์นภัส วิกุล. (2560). ประสิทธิผลของสถานศึกษาระดับปฐมวัย ในจังหวัดนครราชสีมา. วารสารวิทยาลัยราชสีมา, 11(1), 131.
พิศมัย เจริญลักษณ์. (2557). ความพรอมของหัวหน้าศูนย์กับการปฏิบัติงานตามมาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารสวนตำบลในจังหวัดนครปฐม. วารสารบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร, 5(1), 130.
วริศรา บุญธรรม. (2560). การศึกษาทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในระยอง จันทบุรี และตราด. วิทยานิพนธ์ ค.ม. จันทบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี.
วาสนา เต่าพาลี. (2559). บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษากับปัจจัยจูงใจในการทําผลงานทางวิชาการของครู สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 6(1), 276.
ศรัญญา น้อยพิมาย. (2563). ทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานีเขต 2. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยปทุมธานี, 12(1), 199-200.
สัมมา รธนิธย์. (2556). หลักทฤษฎีและปฏิบัติการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ: พิมพ์ดี.
สำนักงานจังหวัดฉะเชิงเทรา. (2560). แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. 2560–2564. ฉะเชิงเทรา: ม.ป.พ.
. (2563). แผนพัฒนาจังหวัดฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561 - 2565). ฉบับทบทวน. ฉะเชิงเทรา: ม.ป.พ.
สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดฉะเชิงเทรา. (2561). แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวัยจังหวัดฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561 - 2564). ฉะเชิงเทรา: ม.ป.พ.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2562). มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.
สำเภา เสมศึกสาม. (2560). ศึกษาทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อประสิทธิผลศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดสุพรรณบุรี. วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย, 9(2), 319.
สุนทร โคตรบรรเทา. (2554). การบริหารการศึกษาหลักการและทฤษฎี. กรุงเทพฯ: ปัญญาชน.
. (2560). ภาวะผู้นำในองค์การสถานศึกษา ฉบับปรับปรุง. กรุงเทพฯ: ปัญญาชน.
สมบูรณ์กฤช แดงฟู. (2556). ความสัมพันธ์ระหว่างทักษะการบริหารงานของผู้บริหารกับคุณภาพการจัดการศึกษาโรงเรียนบ้านอรุโณทัย จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
อริษา วงคําจันทร์. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษากับคุณภาพการจัดการศึกษา โรงเรียนในสังกัดสํานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรีเขต 1. วิทยานิพนธ์ ค.ม. ราชบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง.
Drake, T. L., & William H. R. (1986). The Principalship. (3nd ed). New York: Macmillan.
Katz, D., & Kahn, R. L. (1974). The social psychology of organizations. New York: Wiley.
Krejcie, R. V., & Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research activities. Educational and Psychological Measurement, 30, 607-610.
Likert, R. (1967). The Human Organization: Its Management and Value. New York: McGraw-Hill.
Lunenburg, F. C. (2010). The principal and the school: What do principal do. Huntsville Texas: Sam Houston State University.