ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมที่ส่งผลต่อการเป็นองค์การสมรรถนะสูงของโรงเรียน สังกัดสำนักการศึกษาเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี

Main Article Content

Sompong Chueakprom
Pojanee Mangkang
Amnat Boonprasert

Abstract

The objectives of this research were to examine 1) the level of school administrators’ innovative leadership,
2) the level of high-performance organization of schools, 3) the relationship between school administrators’ innovative leadership and high-performance organization of schools, and 4) school administrators’ innovative leadership affecting the high-performance organization of schools under the Bureau of Education Pattaya City in Chonburi Province. The sample, selected through a multi-stage sampling, consisted of 248 school administrators and teachers. The research instrument was a 5-rating scale questionnaire with the reliability of .98. The statistics for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, Pearson’s product-moment correlation coefficient, and Multiple regression analysis.


            The research findings found that: 1) The level of school administrators’ innovative leadership was overall at a high level, ranking by mean scores from high to low: creating an organizational atmosphere, vision, creativity, and participation; 2) The level of high-performance organization of schools was overall at a high level, ranking by mean scores from high to low: organizational strategy, knowledge management, organizational structure system, and service recipients focus; 3) The relationship between school administrators’ innovative leadership and the high-performance organization of schools was at ​a high positive correlation (rxy= .790) with the .05 level of significance; and 4) School administrators’ innovative leadership affecting the high-performance organization of schools comprised creativity, creating an organizational atmosphere, vision, and participation, and could predict the high-performance organization of schools at 63.90 percent. The predictive equation could be written in the form of standardized scores as Z'Y= .488Z4 +.313Z3 +.443Z1 -.416Z2

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

กุลชลี จงเจริญ. (2563). หน่วยที่ 12 ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรม. เข้าถึงได้จาก https://www.stou.ac.th/Schools/Sed/upload/หน่วยที่%2012%20ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรม.pdf. 11 พฤษภาคม 2563.

จิราภรณ์ เพชรทัต. (2558). การบริหารแบบมีส่วนร่วมของผู้บริหารกับความเป็นองค์กรสมรรถนะสูงของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 2. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

จีราภา ประพันธ์พัฒน์. (2560). การศึกษาภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

ชูศรี วงศ์รัตนะ. (2564). เทคนิคการใช้สถิติเพื่อการวิจัย. (พิมพ์ครั้งที่ 15). กรุงเทพฯ: อมรการพิมพ์.

ธนัตถ์พร โคจรานนท์. (2562). การพัฒนาระบบบริหารจัดการโรงเรียนประถมศึกษาสู่องค์การสมรรถนะสูง. วิทยานิพนธ์ กศ.ด. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

บุญชู สุนธงศิริ. (2557). ภาวะผู้นำที่ส่งผลต่อองค์การที่มีสมรรถนะสูงของสถานศึกษา ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ปณตนนท์ เถียรประภากุล. (2561). ภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคการศึกษา 4.0. Veridian E-Journal Silpakorn University, 11(2), 1994-2013.

ปวีณา กันถิน. (2560). ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนประชารัฐเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 5. การค้นคว้าแบบอิสระ ศษ.ม. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

พจนีย์ มั่งคั่ง. (2560). ทฤษฎี หลักการและกระบวนทัศน์ในการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ: ทริปเพิ้ลกรุ๊ป.

พสุ เตชะรินทร์ และคณะ. (2549). การพัฒนาองค์การให้มีขีดสมรรถนะสูง. กรุงเทพฯ: วีชั่น พริ้นท์ แอนด์ มีเดีย.

เพ็ญศิริ ฤทธิกรณ์. (2559). ทักษะการบริหารของผู้บริหารที่ส่งผลต่อความเป็นองค์กรสมรรถนะสูงของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 2. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

แพรวา พานทอง. (2554). คุณลักษณะผู้นำนวัตกรรมของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลทั่วไป. วิทยานิพนธ์ พย.ม. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

มนตรี ศรีจันทร์อินทร์. (2559). บรรยากาศองค์การของโรงเรียนขนาดใหญ่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17 จันทบุรี-ตราด. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

เมืองพัทยา. (2559). แผนพัฒนาเมืองพัทยา 4 ปี (พ.ศ.2561-2564). ชลบุรี: เมืองพัทยา.

ยินดี ฮานาฟี. (2563). แนวทางการส่งเสริมการมีภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมสำหรับครูโรงเรียนสามโคก สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดปทุมธานี. เข้าถึงได้จาก https://jeal.snru.ac.th/. 21 พฤศจิกายน 2563.

วัชรพงศ์ ทัศนบรรจง. (2563). ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษาในโครงการโรงเรียนประชารัฐ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสงคราม. วิทยานิพนธ์ ค.ม. นครปฐม: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.

วาสนา เนียมสี. (2560). ภาวะผู้นำเชิงปฏิรูปที่ส่งผลต่อการเป็นองค์กรสมรรถนะสูงของกระทรวงพลังงาน. วิทยานิพนธ์ รป.ม. นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหิดล.

วิษณุ เทพสินธพ. (2560). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเป็นองค์การสมรรถนะสูงขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตภาคเหนือตอนล่าง. วิทยานิพนธ์ รป.ม. นครสวรรค์: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.

เวียงวิวรรธน์ ทำทูล. (2557). ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารที่ส่งผลต่อองค์การขีดสมรรถนะสูงของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 21. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

สำนักการศึกษาเมืองพัทยา. (2563). บทสรุปสำหรับผู้บริหาร ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2562. เอกสารประกอบการประชุม. ชลบุรี: เมืองพัทยา.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2562). คุณลักษณะของโรงเรียนประชารัฐ. กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2563). หลักสูตรผู้นำทีมที่มีประสิทธิภาพ. เข้าถึงได้จาก https://ocsc.chulaonline.net/document/teamleader/Effective_Team_Leader.pdf. 22 พฤศจิกายน 2563.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.

สุรศักดิ์ ชะมารัมย์. (2560). การบริหารงานภาครัฐกับมิติของความเปลี่ยนแปลงในการบริหารงานของหน่วยงานภาครัฐสู่การเป็นองค์การที่มีขีดสมรรถนะสูง. รัฐสภาสาร, 65(5), 9-34.

อนุสรา สุวรรณวงศ์. (2563). ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรม. เข้าถึงได้จาก https://www.trueplookpanya.com/knowledge/content/52233/-edu-teaartedu-teaart-teaartdir-. 11 พฤษภาคม 2563.

Cronbach,L.J. (1970). Essentials of psychological testing (5th ed). New York: Harper & Row.

Krejcie, R. V., & Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3), 607-610.

Linder,J.C., & Brook, J.D. (2004). Transforming the public sector. Outlook Journal, 3, 26-35.

Roscorla, T. (2020). The 7 Steps to Innovative Leadership. Retrieved from https://www.dysky.org/education/the-7-steps-to-innovative-leadership/. December 21st, 2020.

Waal, A. (2007). The characteristics of a high performance organization. Business Strategy Series, 8(3), 179-185.