การบริหารแบบมีส่วนร่วมที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2
Main Article Content
Abstract
The objectives of this research were to examine 1) the level of school administrators’ participatory administration, 2) the level of learner quality in basic education institutions; 3) the relationship between participatory administration and learner quality in basic education institutions, and 4) the effects of participatory administration on learner quality in basic education institutions. The sample, obtained through a multi-stage sampling consisted of 28 school administrators and 285 teachers under Chachoengsao Primary Educational Service Area Office 2 in the 2020 academic year, yielding a total of 313 participants. Krejcie and Morgan's table was used to calculate the sample size. The research instrument was a 5-rating scale questionnaire with the reliability of .98. The statistics for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, Pearson’s product-moment correlation coefficient, and Multiple regression analysis.
The research findings revealed that: 1) The level of participatory administration overall and in each aspect was at a high level, ranking by mean scores from high to low: participation in the evaluation, decentralized decision-making, participation in operations, participation in benefits, and shared organizational goal setting; 2) The level of learner quality in basic education institutions overall and each aspect was at a high level, ranking by mean scores from high to low: analytical thinking ability, reading ability, problem-solving ability, communication ability, critical thinking ability, computational thinking ability, and writing ability; 3) The relationship between participatory administration and learner quality in basic education institutions was at a high positive correlation ( = .742) with a .01 level of significance; 4) Participatory administration in terms of participation in operations, shared organizational goal setting, participation in benefits, participation in the evaluation, and decentralized decision-making affected learner quality in basic education institutions, could predict learner quality in basic education institutions at 64.30 percent. The predictive equation could be presented in the form of standardized scores as Z'Y = .376Z5 +.237Z4 +.228Z3 +.180Z2 +.149Z1
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความทุกบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ถือว่าเป็นลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
References
กนกพรรณ สังขพันธ์. (2558). การมีส่วนร่วมในการบริหารงานโรงเรียนที่ส่งผลต่อการดำเนินงานวิชาการของโรงเรียนเอกชน อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3. วิทยานิพนธ์ ค.ม. ฉะเชิงเทรา: มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางศึกษาการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จังกัด.
กัญญาพัชร พงษ์ดี.(2559). กลยุทธ์การบริหารแบบมีส่วนร่วมของไตรภาคีในการยกระดับคุณภาพผู้เรียนในโรงเรียนพื้นที่สูงภาคเหนือตอนบน. วิทยานิพนธ์ ค.ม. เชียงราย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.
จอมพงศ์ มงคลวนิช. (2556). การบริหารองค์การและบุคลากรทางการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
จิรัสสา ไสยแก้ว. (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานกับคุณภาพผู้เรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2. วิทยานิพนธ์ ค.ม. นครศรีธรรมราช: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช.
ชาญวิทย์ ชัยกันย์. (2561). แนวคิดการแบ่งปันผลประโยชน์ (Benefit Sharing) กับการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งทางสิ่งแวดล้อม: กรณีศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายสหรัฐอเมริกา. วารสารนิติศาสตร์, 11(2), 7.
ชูศรี วงศ์รัตนะ. (2564). เทคนิคการใช้สถิติเพื่อการวิจัย. (พิมพ์ครั้งที่ 15). กรุงเทพฯ: อมรการพิมพ์.
โชติ บดีรัฐ. (2558). เทคนิคการบริหาร. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ฐิตา วิหครัตน์. (2558). การบริหารแบบมีส่วนร่วมที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษาในจังหวัดสมุทรปราการ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6. วิทยานิพนธ์ ค.ม. ฉะเชิงเทรา: มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.
ณัฐยา สินตระการผล. (2554). การบริหารจัดการนวัตกรรม. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: บริษัท เอ็กซเปอร์เน็ท.
ทินกร ประเสริฐหล้า. (2553). การบริหารแบบมีส่วนร่วมที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร เขต 1. วิทยานิพนธ์ ค.ม. สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
ธร สุนทรายุทธ. (2551). การบริหารจัดการเชิงปฏิรูปทฤษฎี วิจัยและปฏิบัติทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: เนติกุลการพิมพ์.
นพดล พลเยี่ยม. (2562). รูปแบบการบริหารแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 1. วิทยานิพนธ์ ค.ด. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ.
ปรมาภรณ์ อ่อนนุ่ม. (2560). ปัจจัยที่ส่งผลคุณภาพผู้เรียนของโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2. วิทยานิพนธ์ ค.ม. ฉะเชิงเทรา: มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.
ประไพพร สืบเทพ. (2561). การบริหารแบบมีส่วนร่วมส่งผลต่อประสิทธิภาพการพัฒนาสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2. วิทยานิพนธ์ ค.ม. ฉะเชิงเทรา: มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.
พจนีย์ มั่งคั่ง. (2560). ทฤษฎี หลักการ และกระบวนทัศน์ในการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ: ทริปเปิ้ลกรุ๊ป.
ไพฑูรย์ สินลารัตน์ และคณะ. (2560). ความเป็นผู้นำทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ไพลิน ทิพย์กรรณ. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารแบบมีส่วนร่วมของผู้บริหารสถานศึกษากับคุณภาพผู้เรียนในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชุมพร เขต 1. วิทยานิพนธ์ ค.ม. เพชรบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี.
เมตต์ เมตต์การุณ์จิต. (2553). การบริหารจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมประชาชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และราชการ. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: บุ๊คพอยท์.
วีระยุทธ ชาตะกาญจน์. (2555). เทคนิคการบริหารสำหรับนักบริหารการศึกษามืออาชีพ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศวัสมน แป้นทิม. (2562). คุณลักษณะของผู้บริหารในศตวรรษที่ 21 ที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 2. วิทยานิพนธ์ ค.ม. ฉะเชิงเทรา: มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.
โศภิดา คล้ายหนองสรวง. (2558). การบริหารแบบมีส่วนร่วมกับประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3. วิทยานิพนธ์ ค.ม.ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2. (2560). รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2559. ฉะเชิงเทรา: สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2.
_______. (2562). รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2562. ฉะเชิงเทรา: สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2553). แนวทางดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล. กรุงเทพฯ: สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา.
_______. (2561). แนวทางประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานการศึกษาพิเศษ. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2555). ข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552-2561). กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค จำกัด.
สุนทรี แสงอุไร. (2559). การบริหารแบบมีส่วนร่วมที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 1. วิทยานิพนธ์ ค.ม. ฉะเชิงเทรา: มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.
สุพรรณนี กุลโสภิส. (2559). การบริหารแบบมีส่วนร่วมกับมาตรฐานคุณภาพการศึกษาด้านผู้เรียนในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1. วิทยานิพนธ์ ค.ม. นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
สุรพล พิมพ์สอน. (2557). กลยุทธ์การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 41. วิทยานิพนธ์ ค.ด. กำแพงเพชร: มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร.
อนุตรศักดิ์ วิชัยรัตน์. (2559). การพัฒนารูปแบบการนิเทศการสอนที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 2. วิทยานิพนธ์ ค.ม. สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
Cohen, J.M. & Uphoff, N.T. (1980). Participation's Place in Rural Development: Seeking Clarity Throung Specificity. Word Development.
Krejcie, R.V. & Morgan, D.W. (1970). Determining Sample Size for Research Activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3), 607-610.