ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2

Main Article Content

Anusorn Suttaluang
Amnat Boonprasert
Pojanee Mangkang

Abstract

The purposes of this research were to examine 1) the level of creative leadership of school administrators, 2) the level of school effectiveness, 3) the relationship between the creative leadership of school administrators and the school effectiveness, and 4)the creative leadership of school administrators affecting the school effectiveness. The sample, obtained through simple random sampling, consisted of 317 school administrators and teachers. The sample size was calculated using Krejcie and Morgan's table. The research instrument was a set of questionnaires, assessed by Cronbach’s alpha coefficient with the reliability of 0.97. The statistics for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, Pearson's product-mom correlation coefficient, and Stepwise multiple regression analysis.


The research results revealed that: 1) The level of creative leadership of school administrators overall and each aspect was at a high level, ranking by mean scores from high to low: flexibility, individualized consideration, creativity, and vision; 2) The level of school effectiveness overall and each aspect was at a high level, ranking by mean scores from high to low: administrative and management process, teaching and learning process focusing on learners-centred approach, and learner quality; 3) The relationship between the creative leadership of school administrators and the school effectiveness was at a high positive correlation with the .01 level of significance; and 4) The creative leadership of school administrators in terms of flexibility, vision, creativity, and individualized consideration affected the school effectiveness with the .01 level of significance, and could predict the school effectiveness at 64.80 percent. The predictive equation could be written in form of standardized scores as  Z'Y = 571Z1 -.520Z2 +.505Z4 +.259Z3 .

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

กิตติ์กาญจน์ ปฏิพันธ์. (2555). โมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษาอาชีวศึกษา. ปริญญานิพนธ์ ปร.ด. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ขวัญฤทัย ภู่สาระ (2562). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1. วิทยานิพนธ์ ค.ม. พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยา.

จักรกฤษณ์ โพดาพล (2556). ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารเทศบาลตำบลในจังหวัดร้อยเอ็ด. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. เลย: มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีล้านช้าง.

จุฑามาส ซุ่นห้วน. (2562). ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการจัดสภาพแวดล้อมใยสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี. วิทยานิพนธ์ ค.ม. สุราษฎร์ธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี.

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะครุศาสตร์. (2553). การนำแผนยุทธสาสตร์สู่การปฏิบัติ (Strategy implementation). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชูศรี วงศ์รัตนะ. (2564). เทคนิคการใช้สถิติเพื่อการวิจัย. (พิมพ์ครั้งที่ 15). กรุงเทพฯ: อมรการพิมพ์.

ดวงแข ขำนอก (2559). การศึกษาภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาการศึกษานครราชสีมา เขต 6. วิทยานิพนธ์ ค.ม. นครราชสีมา: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.

ทินกร คลังจินดา. (2557). บรรยากาศองค์การที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 5. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

นพวรรณ บุญเจริญสุข. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของสถานศึกษาจังหวัดฉะเชิงเทรา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

พัฒนวงศ์ ดอกไม้. (2560). อิทธิพลของภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการบริหารการจัดการเรียนรู้ศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ภคมณ ทิฆัมพรบรรเจิด. (2561). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหาร ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของครูที่ส่งผลต่อประสิทธิผลในการบรหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2. วิทยานิพนธ์ ค.ม. ราชบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฎหมู่บ้านจอมบึง.

ภารดี อนันต์นาวี. (2557). หลักการ แนวคิด ทฤษฎีทางการบริหารการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 5). ชลบุรี: มนตรี.

ฤทัยรัตน์ บุญอินทร์. (2559). ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1. วิทยานิพนธ์ ค.ม. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

วิโรจน์ สารรัตนะ. (2555). ผู้บริหารโรงเรียน: สามมิติการพัฒนาวิชาชีพสู่ความเป็นผู้บริหารที่มีประสิทธิผล. ขอนแก่น: คลังนานาวิทยา.

สมจิตร ชูศรีวาส. (2562). ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 1. วิทยานิพนธ์ ค.ม. ร้อยเอ็ด: มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด.

สมประสงค์ โกศลบุญ. (2554). Creative & Innovation ความคิดสร้างสรรค์ และกระบวนการแปรความคิดไปสู่นวัตกรรม. กรุงเทพฯ: มูลนิธิเพื่อสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2. แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2. สมุทรปราการ: กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2.

. (2563). ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียน สังกัด สพป.สมุทรปราการ เขต 2. เข้าถึงได้จาก https://data.bopp-obec.info/emis/school.php?Area_CODE=1102. 28 กุมภาพันธ์ 2563.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2561). แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2562). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 และ(ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562. สำนักนายกรัฐมนตรี. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 136 ตอนที่ 57 ก. ลงวันที่ 26 เมษายน 2562.

สุภาพ ฤทธิ์บำรุง. (2556). ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อความมีประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 30. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

Basadur, M. (2008). Leading other to Think Innovatively Together: Creative Leadership. Journal of the Leadership Quarterly, 15(1), 103–121.

Cronbach,L.J. (1990). Essentials of Psychological Testing. (5th ed). New York: Harper Collins.

Harris, A. (2009). Creative Leadership: Developing Future Leaders. Management in Education, 23(1), 9–11.

Hatch, T. (2009). The Outside – Inside Connection: Education Leadership. New York: McGraw–Hill.

Hoy, W.K. & Miskel, C.G. (2008). Educational administration. (8th ed.). New York: McGraw Hill.

Krejcie, R. V., & Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research activities. Educational and Measurement.

Seyfarth, J. T. (1999). The Principalship: New leadership for new challenges. New Jersey: Prentice-Hall, Inc.