คุณลักษณะของผู้บริหารมืออาชีพที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2

Main Article Content

Sitthinee Prapatson
Amnat Boonprasert
Pojanee Mangkang

Abstract

The objectives of this research were to examine 1) the level of characteristics of professional administrators,  2) the level of school academic administration, 3) the relationship between characteristics of professional administrators and school academic administration, and 4) characteristics of professional administrators affecting school academic administration. The sample, obtained through simple random sampling, consisted of 317 school administrators and teachers in the academic year 2020. The sample size was calculated using the table of Krejcie and Morgan. The research instrument was a set of questionnaires, assessed by Cronbach’s alpha coefficient, with the reliability of 0.99. The statistics for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, Pearson's product-moment correlation coefficient, and Stepwise multiple regression analysis.


The research findings revealed that: 1) The level of characteristics of professional administrators overall and each aspect was at a high level, ranking by mean scores from high to low: morality and ethics, vision, creativity, professional knowledge, and communication; 2) The level of school academic administration overall and each aspect was at a high level, ranking by mean scores from high to low: teaching and learning management, measurement and assessment, internal supervision, media development and implementation, classroom research, and curriculum development; 3) The relationship between characteristics of professional administrators and school academic administration was at a high positive correlation with the .01 level of significance; and 4) Characteristics of professional administrators in terms of professional knowledge, creativity, communication, vision, and morality and ethics affected school academic administration with the .01 level of significance, and could predict school academic administration at 81 percent. The predictive equation could be written in form of standardized scores as Z'Y = 1.293Z4 -.591Z3 -.354Z5 +.292Z1+.237Z2.

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทยจำกัด.

. (2559). แผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560 ของกระทรวงศึกษาธิการเพื่อประกอบการจัดทำคำของบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2560. กรุงเทพฯ: สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักปลัดกระทรวงศึกษาธิการ.

กุลจิรา รักษนคร. (2562). การศึกษากรอบแนวคิดของผู้บริหารมืออาชีพยุค 4.0. ขอนแก่น: ภาควิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

จงกล ภู่เทียน. (2560). การดำเนินงานตามมาตรฐานเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1. วิทยานิพนธ์ ค.ม. ฉะเชิงเทรา: มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.

จันทรานี สงวนนาม. (2553). ทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารสถานศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 3). นนทบุรี: บุ๊คพอยท์.

ชญาพัฒน์ ดอกมะลิ. (2557). คุณลักษณะของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการบริหารงานของโรงเรียนเทศบาลในจังหวัดฉะเชิงเทรา. วิทยานิพนธ์ ค.ม. ฉะเชิงเทรา: มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.

ณัฐพงษ์ ปรีชานนทกุล. (2563). ทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 ที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาจังหวัดระยอง จันทบุรี และตราด. วิทยานิพนธ์ ค.ม. จันทบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี.

ตุ๊กตา โสภณธรรมคุณ. (2558). สมรรถนะวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2. วิทยานิพนธ์ ค.ม. นครปฐม: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.

นิศากร กองอุดม. (2562). ความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะของผู้บริหารมืออาชีพกับคุณภาพงานวิชาการตามความคิดเห็นของครูผู้สอนและผู้บริหารสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยม เขต 27. วิทยานิพนธ์ ค.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

ประทวน บุญรักษา. (2554). บทบาทหน้าที่ของผู้บริหารและการเป็นผู้บริหารมืออาชีพ. หลักการทฤษฎีการบริหารและการบริหารสถานศึกษาเพื่อความเป็นเลิศ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี.

ประพันธ์ศิริ สุเสารัจ. (2556). การพัฒนาการคิด. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: 9119 เทคนิคพริ้นติ้ง.

ปัทมพร พงษ์เพชร. (2561). ทักษะผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 ที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2. วิทยานิพนธ์ ค.ม. ฉะเชิงเทรา: มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.

ปิยพงษ์ สุเมตติกุล. (2554). นโยบายการจัดการและความเป็นผู้นำทางการศึกษา. วารสารอิเล็กทรอนิกส์วงการศึกษา, 1(1), 54.

พรชัย เจดามานและคณะ. (2559). ยุทธศาสตร์การพัฒนาเพื่อการบริหารจัดการสู่การเปลี่ยนผ่านศตวรรษที่ 21: ไทยแลนด์ 4.0. วารสารหลักสูตรและการเรียนการสอน คณะครุศาสตร์, 2(1), 191-204.

พรนภา บุราณรมย์. (2560). ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการ ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 3. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

วัฒนากร ต่อซอน. (2561). คุณลักษณะผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 2. วิทยานิพนธ์ ค.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

ศักดิ์ไทย สุรกิจบวร. (2556). ความเป็นผู้บริหารมืออาชีพ : แนวคิดและปฏิบัติการ. มหาสารคาม: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2. (2564). แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการเขต 2. กลุ่มนโยบายและแผน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2562). แนวทางการนิเทศบูรณาการโดยใช้พื้นที่เป็นฐานเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่การนิเทศภายในโรงเรียนโดยใช้ห้องเรียนเป็นฐานเพื่อการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน. กลุ่มศึกษานิเทศก์ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2557). แผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับปรับปรุง (พ.ศ. 2552–2559). กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.

หัทยา ชนะสิทธิ์. (2560). คุณลักษณะของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนกลุ่มเกาะแก้ว สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1. วิทยานิพนธ์ ค.ม. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

อภิชญา อยู่ในธรรม. (2558). เอกสารการสอนชุดวิชา 15337 การสื่อสารกับการพัฒนา. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1 หน่วยที่ 1-8 “การสื่อสารกับการพัฒนาสังคม” หน่วยที่ 8 สาขาวิชานิเทศศาสตร์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

อรวดี ไชยเสนา. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะของผู้บริหารมืออาชีพกับคุณภาพงานวิชาการตามความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 1. วิทยานิพนธ์ ค.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

อารีนา หะยีบาราเฮง. (2558). คุณลักษณะของผู้บริหารมืออาชีพกับการบริหารวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา. วิทยานิพนธ์ ค.ม. สงขลา: มหาวิทยาลัยทักษิณ.

Davis, B. M. (2004). The impact of leadership on employee motivation. New Jersey: John Wiley.

Krejcie, R.V. and Morgan, D.V. (1970). Determining Size for Research Activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3), 608-609.

Zalesnick, R., & Bennis, W. G. (2002). Organizational behavior. (2nd ed.). New York: McGraw-Hill.