ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการสอนของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3
Main Article Content
Abstract
The purposes of the research were to examine 1) the level of factors related to teachers’ teaching effectiveness, 2) the level of teachers’ teaching effectiveness, 3) the relationship between factors related to teachers’ teaching effectiveness, and 4) factors affecting the teachers’ teaching effectiveness in schools under Chonburi Primary Educational Service Area Office 3 (PESAO 3). The sample consisted of 316 teachers working under Chonburi PESAO 3 in the 2020 academic year. Krejcie and Morgan’s table was used to calculate the sample size. The random floor method was also employed using the school size as a random unit. The research instrument was a 5- rating scale questionnaire. The statistics for data analysis were percentage, mean, standard deviation (S.D.), Pearson’s product-moment correlation coefficient, and Multiple regression analysis by using all variables in the equation. (Enter Method)
The research results were as follows: 1) Teacher personality, classroom atmosphere, administrators’ leadership factors, and work motivation reached the highest level. 2) The teachers’ teaching effectiveness was at the highest level. 3) the factors in terms of teacher personality, classroom atmosphere, administrators’ leadership factors, and work motivation had a high positive correlation with teachers’ teaching effectiveness in schools under Chonburi PESAO 3 at the .01 level of significance, and 4) the factors in terms of classroom atmosphere, work motivation, teacher personality, and administrators’ leadership factors affected teachers’ teaching effectiveness in schools under Chonburi PESAO 3 and could predict teachers’ teaching effectiveness at 78.50 percent. Teacher personality was the most predictive factor, followed by classroom atmosphere, administrators’ leadership, and work motivation at the .01 level of significance.
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความทุกบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ถือว่าเป็นลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2557). นโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2555-2558. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
จีรนันท์ พันธ์ฉลาด. (2552). ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการสอนของครูโรงเรียนเอกชน สอนศาสนาอิสลามจังหวัดปัตตานี. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. ปัตตานี:
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
ชมพู โกติรัมย์. (2551). ประชากรปัจจัยชี้ขาดในศตวรรษที่ 21. เข้าถึงได้จาก dllibrary.spu.ac.th:8080/. 14 กุมภาพันธ์ 2564.
ชูศรี วงศ์รัตนะ. (2564). เทคนิคการใช้สถิติเพื่อการวิจัย. (พิมพ์ครั้งที่ 15). กรุงเทพฯ: อมรการพิมพ์.
ดลนภา วงษ์ศิริ. (2556). ความสัมพันธ์ระหว่างการเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้กับประสิทธิภาพการสอนของครูในโรงเรียน สังกัดเทศบาลขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น. วิทยานิพนธ์ ค.ม. เลย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.
นัยนา กวนวงค์. (2558). ปัจจัยการบริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการสอนของครูในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา จังหวัดขอนแก่น. วิทยานิพนธ์ ค.ม. อุดรธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.
ปารณีย์ ขวัญกิจวงศ์ธร. (2558). ตัวแปรที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการสอนของครูโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 10. วิทยานิพนธ์ ค.อ.ม. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
พิมพ์วลัญช์ นันทัยทวีกุล. (2557). ภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาและพฤติกรรมการสอนของครูที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการสอนของครูในโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 5. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ภัทราวรรณ ซาสันเทียะ. (2560). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพการสอนของครูผู้สอนวิชาภาษาอังกฤษระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 31. วิทยานิพนธ์ ค.ม. นครราชสีมา: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.
มุกดามณี ศรีพงษ์เพริศ. (2561). ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของครูประถมศึกษา จังหวัดปทุมธานี. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
วิโรจน์ สารรัตนะ. (2557). แนวคิด ทฤษฎี และประเด็นเพื่อการบริหารทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดบุ๊คเซ็นเตอร์.
วิริยะ ฤาชัยพาณิชย์ และกมลรัตน์ ฉิมพาลี. (2559). ห้องเรียนแห่งอนาคต เปลี่ยนครูให้เป็นโค้ช. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด.
สุรางค์ โค้วตระกูล. (2555). จิตวิทยาการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2561). แนวทางการกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษาให้คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาตามกฎกระทรวง กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษา พ.ศ. 2550. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). ทิศทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (2560-2564). รายงานสรุปผลการประชุมประจำปี 2558 ณ ศูนย์แสดงการประชุมอิมแพค เมืองทองธานี จังหวัดปทุมธานี.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560–2579. สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3. (2563). ข้อมูลสารสนเทศ. ชลบุรี: กลุ่มนโยบายและแผน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3.
อัญชลี ลัดดาแย้ม. (2561). ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษาของครู สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น จังหวัดปทุมธานี. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
อเทตยา แก้วศรีหา. (2558). ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการสอนของครูผู้สอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32. วิทยานิพนธ์ ค.ม. บุรีรัมย์: มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
Bass, B.M. (2004). Leadership and performance 3 beyond expectation. New York: The Free Press.
Borich, G.D. (2004). Effective teaching methods. (2nd ed). New York: Macmillan Publishing.
Cronbach, L.J. (1990). Essentials of Psychological Testing. (5th ed). New York: Harper Collins Pubblishers.
Kaiser. (2000). Mapping the Learning Organization: Exploring A Model of Organizational Learning. Dissertation for the Degree of Doctor of Philosophy, Louisiana State University.
Krejcie, R., & Morgan, D.W. (1970). Determining sample size for research actives. Journal of Educational and Psychological Measurement, 30, 607-610.
Krug, R.E. (1992). Leadership and Performance Beyond Expectations. New York: Free Press.
Reynold, D. (1998). Schooling for literacy: Are view of research on teacher effectiveness and school effectiveness and implication for contemporary education policy. Educational Review, 50(2), 147-162.