ผลการจัดการเรียนการสอนตามแนวคิดสะเต็มศึกษา (STEM Education) ที่มีต่อความสามารถ ในการคิดแก้ปัญหาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

Main Article Content

Lalita Wangdee
Tassanee Bunterm

Abstract

The purposes of this research were to compare the effects of STEM education learning management and conventional learning management on problem-solving thinking ability and science learning achievement. The samples consisted of two classes of Mathayomsuksa 3 students in a small-sized school under the Secondary Education Service Area Office 21 during the second semester of the 2019 academic year. The students were selected through purposive sampling and divided into two groups: an experimental group and a control group. Each class consisted of 25 students. The class 3/1’s experimental group received instruction utilizing STEM Education. The IPST teacher manual’s conventional instruction was given to the control group of class 3/2. A quasi-experimental design with a pretest-posttest control group was used in this research. The tools included a problem-solving thinking ability test and a science learning achievement test. The collected data were analyzed by One-way Multivariate Analysis of Variance. The finding revealed that after the intervention, students’ problem-solving thinking ability and science learning achievement of the STEM education learning group were higher than those of the conventional learning group at the .05 level of significance.

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

กมลทิพย์ สำราญจักร. (2558). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาเพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์ เรื่อง โมเมนตัมและการชน สำหรับนักเรียนสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.

ขจรเดช บุตรพรม. (2557). เปิดเล่ม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. สะเต็มศึกษา สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 3(42), 25.

ขวัญใจ เชิดชู. (2557). นวัตกรรมทางการศึกษา STEM Education. เข้าถึงได้จาก http://kwanjaicherdchoo.blogspot.com/2014_09_01archive.html. 15 ตุลาคม 2556.

ณัฐธิดา นาคเสน. (2563). การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เรื่อง พลังงานในชีวิตประจำวันโดยการจักการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา. วิทยานิพนธ์ ค.ม. สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

ดวงพร สมจันทร์ตา, มนตรี มณีภาค และสมเกียรติ พรพิสุทธิ์. (2559). การศึกษาความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่ได้รับการเรียนตามแนวทางสะเต็มศึกษา เรื่อง กายวิภาคของพืช. การประชุมวิชาการระดับชาติครุศาสตร์ ครั้งที่ 1 การศึกษาเพื่อพัฒนาท้องถ้องถิ่น สู่ประชาคมอาเซียน : ทิศทางใหม่ในศตวรรษที่ 21, 353-360.

ธัญญารัตน์ รัตนหิรัญ. (2562). การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และความสามารถในการสร้างสรรค์ผลงานสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

นงนุช เอกตระกูล. (2558 ). การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ STEM เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ (CPS) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ.

นัสรินทร์ บือซา. (2558). ผลการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา (STEM Education) ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนชีววิทยาความสามารถในการแก้ปัญหาและความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. สงขลา: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

พลศักดิ์ แสงพรมศรี และคณะ. (2558). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ชั้นสูงและเจตคติต่อการเรียนเคมีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษากับแบบปกติ. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 9(ฉบับพิเศษ), 401-418.

มนตรี จุฬาวัฒนานทล. (2556). สะเต็มศึกษาในประเทศไทยและทูตสะเต็ม. สสวท., 42(185), 14-18.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2554). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ: ศิริวัฒนาอินเตอร์พริ้นท์ จำกัด (มหาชน).

วิจารณ์ พานิช. (2556). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย.์ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ. ฝ่ายโรงพิมพ์ บริษัท ตถาตา พับลิเคชั่น.

วรรณธนะ ปัดชา. (2559). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษากับการจัดการเรียนรู้แบบ สสวท. เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนวัดห้วยจระเข้วิทยาคม. วิทยานิพนธ์ วท.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2558). ความรู้เบื้องต้นสะเต็ม. กรุงเทพฯ: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกระทรวงศึกษาธิการ.

. (2557). ผลการประเมิน PISA 2012 คณิตศาสตร์ การอ่าน และวิทยาศาสตร์นักเรียนรู้อะไรและทำอะไรได้บ้าง. กรุงเทพฯ: อรุณการพิมพ์.

สิรินภา กิจเกื้อกูล. (2558). สะเต็มศึกษา. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 17(2), 201-207.

สนธิ พลชัยยา. (2557). สะเต็มศึกษากับการคิดขั้นสูง. นิตยสาร สสวท., 42(89), 7-10.

สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมแห่งชาติ. (2558). ประวัติสำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมแห่งชาติ. เข้าถึงได้จาก http://www.most.go.th/main/index.php/org/1513-sti.html. 29 กุมภาพันธ์ 2563.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2550). การจัดการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้: การจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับมาตรา 24 (2) (3) แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: กลุ่มส่งเสริมนวัตกรรมและการเรียนรู้ของครูและบุคลากรทางการศึกษา สำนักมาตรฐานการศึกษาและพัฒนาการเรียนรู้.

อนุสรา พุ่มพิกุล. (2562). ได้ศึกษาผลของการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาโดยใช้ปัญหาเป็นฐานที่เน้นกระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณที่มีต่อสมรรถนะการออกแบบวิธีการแก้ปัญหา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความพึงพอใจ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

อรรชกา สีบุญเรือง. (2559). โมเดลประเทศไทย 4.0 สู่เวทีการค้าโลก. เข้าถึงได้จาก http://www.oie.go.th/sites/default/files/attachments/news_oiepr/ newsoiepr-15-2559.pdf. 20 สิงหาคม 2559.

อับดุลยามีน หะยีขาเดร์. (2560). ผลของการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนชีววิทยาความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ และความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. สงขลา: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

อาทิตย์ ฉิมกุล. (2559). ผลของการจัดการเรียนรู้ชีววิทยาตามแนวคิดสะเต็มศึกษาที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาและ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนชีววิทยาของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย. วิทยานิพนธ์ ค.ม. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Bloom, Benjamin S. (1965). Taxonomy of Education Objective Handbook I: Cognitive Domain. New York: David McKay Company, Inc.

Bunterm, T. et al. (2014). Do Different Levels of Inquiry Lead to Different Learning Outcomes? A comparison between guided and structured inquiry. International Journal of Science Education, 36, 1937-1959.

Diana, L. R. (2012). Integrated STEM education through project-based learning. Retrieved from http://www.rondout.k12.ny.us/common/ pages/ DisplayFile.aspx?itemId=16466975. January 28th, 2014,

Gore, J. (2001). Pedagogy Rediscoverred?. Retrieved from http://www.cirriculumsupport.education.nsw.gov.au/secondary/hsie/assets/professlearning/pedagogy.htm. September 1st, 2016.

Smith, P.T. (1994). Effect on Student Attitude and Achievement. Dissertation Abstract International. 55(7), 252-253.

Tobin, K. (1993). The Practice of Constructivism in Science Education. New Jersey: Lawrence Erlbaum Associates.

Tseng, K., Chang, C., Lou, S. and Chen, W. (2013). Attitudes toward Science, Technology, Engineering and Mathematics (STEM) in a Project – Based Learning (PBL) Environment. International Journal of Science and Mathematics Education, 23, 87-102.