บทบาทผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการทำงานเป็นทีมของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 1

Main Article Content

Nuanlaong Seeda
Pojanee Mangkang
Kanporn Aiemphaya

Abstract

The objectives of this research were to examine 1) the level of school administrators’ roles, 2) the level of teachers’ teamwork, 3) the relationship between school administrators’ roles and teachers’ teamwork, and 4) school administrators’ roles affecting teachers’ teamwork. The sample, selected through simple random sampling, consisted of 317 school administrators and teachers working under the Chachoengsao Primary Educational Service Area Office 1 in the academic year 2020. Krejcie and Morgan's table was used to calculate the sample size. The research instrument was a five-rating scale questionnaire with the reliability of .98. The statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, Pearson’s product-moment correlation coefficient, and multiple regression analysis.


The research findings revealed that 1) the level of school administrators’ roles was overall at a high level, ranking by mean scores from high to low: information distribution, encouragement, planning, assessment, and decision-making; 2) The level of teachers’ teamwork was overall at a high level, ranking by mean scores from high to low: relationship building with team members, work coordination, clear communication, well-defined goal setting, and team trust building; 3) The relationship between school administrators’ roles and teachers’ teamwork was at a high positive correlation (rxy= .760) with the .01 level of significance; and 4) The school administrators’ roles in terms of encouragement, planning, assessment, information distribution, and decision-making affected the teachers’ teamwork, and could predict the teachers’ teamwork at 61.10 percent. The predictive equation could be written in the form of standardized scores as Z'Y = .314Z4 + .297Z3 + .228Z5 + .220Z1 - .220Z2

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

กาญจนา สุระคำ. (2562). ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการทำงานเป็นทีมของครูในสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี. วิทยานิพนธ์ ค.ม. จันทบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี.

ชัยเสฏฐ์ พรหมศรี. (2561). ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารองค์การ : แนวคิด ทฤษฎีและกรณีศึกษา. กรุงเทพฯ: ปัญญาชน.

ณัฐธิญา กับปุลารัตน์. (2562). บทบาทผู้บริหารที่ส่งผลต่อสมรรถนะหลักของครูในศตวรรษที่ 21 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6 จังหวัดสมุทรปราการ. วิทยานิพนธ์ ค.ม. ฉะเชิงเทรา: มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.

ณิรดา เวชญาลักษณ์. (2563). การประยุกต์ใช้ TQM ในการบริหารการศึกษา. เชียงใหม่: วนิดาการพิมพ์.

ดุสิตา เลาหพันธุ์. (2561). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการทำงานเป็นทีมของครูโรงเรียนมัธยมศึกษาในเขตจังหวัดตราด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

ทรงพล เจริญคำ. (2563). หลักการและทฤษฎีการบริหารการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 11). กรุงเทพฯ: โอเอสพริ้นติ้งเฮาส์.

ปรีชา สินวรณ์. (2554). การดำเนินงานตามคุณลักษณะทีมมีทีประสิทธิภาพของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 4. วิทยานิพนธ์ ค.ม. เลย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.

ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2560). ความเป็นผู้นำทางการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สัมมา รธนิธย์. (2560). หลัก ทฤษฎีและปฏิบัติการบริหารการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: ข้าวฟ่าง.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 1. (2562). รายงานสังเคราะห์ผลการตรวจสอบรายงานประจำปีและการประเมินผลคุณภาพภายในสถานศึกษา ปีการศึกษา 2562. ฉะเชิงเทรา: สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 1.

. (2563). แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2563. ฉะเชิงเทรา: สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 1.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 1. (2564). แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564. ฉะเชิงเทรา: สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 1.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2553). คู่มือการประเมินสมรรถนะครู สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2553. เข้าถึงได้จาก http://gpa.tmk.ac.th/teacher/capasity.pdf?fbclid=IwAR0y0b2BJDpfICokO7epQ2Cmh Swuc2hoS_H0UesuDdYPI5DBhgs_nD2_puc. 19 มีนาคม 2564.

สิริกานต์ โฮมราช. (2558). บทบาทผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการทำงานเป็นทีมของครูในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27. วิทยานิพนธ์ ค.ม. ร้อยเอ็ด: มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด.

สุนันธิณีย์ ม่วงเนียม. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างบทบาทผู้บริหารสถานศึกษากับการปฏิบัติงานของครูในโรงเรียนจัดการเรียนรวม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษพิษณุโลก เขต 1. วิทยานิพนธ์ ค.ม. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.

Farren, C. & Kaye, B. L. (1996). Leadership role in the leader of foundation. (3rd ed.). New York: The Drucker foundation.

Gorton, R.D. (1983). School Administration and Supervision, Leadership Challenges and Opportunities. (2nd ed.). Dubuque: Win c. Brown.

Krejcie, R. V., & Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3), 607-610.