การบริหารความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการทำงานเป็นทีมของครูในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 1

Main Article Content

Thanapong Chomphra
Linda Narkpoy
Saifon Sekkhunthod

Abstract

The objectives of this research were to examine 1) conflict management levels of school administrators, 2) teamwork levels of teachers, 3) the relationship between school administrators’ conflict management and teachers’ teamwork, and 4) school administrators’ conflict management affecting teachers’ teamwork. The sample consisted of 291 school administrators and teachers. The research instrument was a set of questionnaires. The statistics for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, Pearson's product-moment correlation coefficient, and Multiple regression analysis. The research findings revealed that: 1) The school administrators’ conflict management overall and each aspect was at a high level, with mean ratings ranging from high to low: collaboration, avoidance, accommodation, competition, and compromise, 2) The teachers’ teamwork overall and each aspect was at a high level, with mean ratings ranging from high to low: respect, team goals, trust, interaction, and communication; 3) The relationship between school administrators’ conflict management and teachers’ teamwork was at the highest positive correlation with the .01 level of significance; 4) School administrators’ conflict management in terms of collaboration, avoidance, accommodation, competition and compromise affected teachers’ teamwork motivation with the .01 level of significance, and could predict teachers’ teamwork motivation at 80.30 percent. The predictive equation could be written in form of standard scores as Z'Y = .388Z4 +.284Z2 +.313Z5 -.203Z1 +.187Z3.

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2562). คู่มือประกอบการอบรมการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC (Professional Learning Community) ชุมชนการเรียนรู้วิชาชีพสู่สถานศึกษา. (เอกสารประกอบการบรรยาย). กรุงเทพฯ: ม.ป.พ.

กิจจา บานชื่น และกณิกนันต์ บานชื่น. (2559). หลักการจัดการ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.

จรัส อติวิทยาภรณ์. (2554). หลักการและทฤษฎีทางการบริหารการศึกษา. สงขลา: เทมการพิมพ์.

จำลอง อ้นจร. (2556). ความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการความขัดแย้งกับการทำงานเป็นทีมของครู สังกัดวิทยาลัยเทคนิค เขตพื้นที่ชายฝั่งตะวันออก. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

ณัฏฐ์ชุดา วิจิตรจามรี. (2561). การสื่อสารในองค์การ. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ณัฐพัชร์ ภูจอม. (2560). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างทักษะการบริหารความขัดแย้งของผู้บริหารกับการสร้างทีมงานของครูในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3. วารสารราชภัฏกรุงเก่า, 4(2), 49-55.

แทนลัดดา ปัฐพี. (2561). การจัดการความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 2. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์, 19(1), 99-111.

นุสรา วงศ์จันทรา. (2557). การมีส่วนร่วมของครูในการบริหารงานโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ. วารสารบริหารการศึกษาและภาวะผู้นำ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 3(9), 76-83.

พรรณภา อนันตะคู. (2563). บรรยากาศขององค์การที่ส่งผลต่อการทำงานเป็นทีมในวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชนภาคกลาง. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 17(77), 1-9.

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ, (2542, 19 สิงหาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 116. ตอนที่ 74 ก, หน้า 1-23.

ไพวัล ไชยทองศรี. (2558). การพัฒนาตัวบ่งชี้การทำงานเป็นทีมของครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน.วิทยานิพนธ์ ค.ด. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. (2552). พระบรมราโชวาท พระราโชวาท พระโอวาท พิธีพระราชทานปริญญากิตติมศักดิ์และปริญญาบัตรวิทยาลัยวิชาการศึกษาและมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พุทธศักราช 2502-2551. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

วิเชียร วิทยอุดม. (2555). การบริหารความขัดแย้งในองค์การ. กรุงเทพฯ: ธนธัช.

วุฒิเลิศ เทวกุล. (2556). จริยธรรมสำหรับนักบริหาร. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยปทุมธานี.

สัมมา รธนิธย์. (2560). หลัก ทฤษฎีและปฏิบัติการบริหารการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: ข้าวฟ่างจำกัด.

สำนักงานข้าราชการพลเรือน. (2559). การสร้างทีมงานทีมีประสิทธิภาพ. กรุงเทพฯ: ข้าราชการพลเรือน.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 1. (2563). แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2564. ปราจีนบุรี: สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 1.

_______. (2563). แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน (แผนกลยุทธ์) พ.ศ. 2563–2565. ปราจีนบุรี: สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรีเขต 1.

หริสา ยงวรรณกร. (2556). การปฏิรูปการเรียนรู้ของครูในยุคโลกาภิวัตน์. วารสารบริหารการศึกษา มศว, 19(10), 89-99.

อมร อ่อนสี. (2560). การพัฒนารูปแบบการบริหารความขัดแย้งของโรงเรียนมัธยมศึกษาด้วยกระบวนการแก้ปัญหา. วิทยานิพนธ์ กศ.ด. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.

อริศษรา อุ่มสิน. (2561). การประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิจัยระดับชาติครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

Alper. (2000). Conflict management, Efficacy, and Performance in Organizational Teams. Personnel Psychology, 53(3), 625–642.

Filly, A.C. (1975). Interpersonal Conflict Resolution. Glenview: Scot Foresman.

Kenneth w. Thomas & Ralph Kilmann. (2002). Thomas – Kilmann conflict mode Instrument. Houston: Gulf.

Krejcie. R.V. & Morgan. D.V. (1970). Determining Sample Size for Research Activities Educational and Psychological Measurement. U.S.A: November.

Likert. (1976). The Method of Constructing and Attitude Scale. New York: Wiley & Son.