ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3

Main Article Content

Phuwis Singseeda
Linda Narkpoy
Saifon Sekkhunthod

Abstract

The objectives of this research were to examine 1) the level of school administrators’ transformational leadership, 2) the level of teachers’ work motivation, 3) the relationship between school administrators’ transformational leadership and teachers’ work motivation, and 4) school administrators’ transformational leadership affecting teachers’ work motivation. The sample consisted of 317 teachers. The research instrument was a set of questionnaires. The statistics for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, Pearson's product-moment correlation coefficient, and multiple regression analysis. The findings were as follows: 1) the level of school administrators’ transformational leadership overall and each aspect was at a high level, ranking by the mean scores from high to low: inspirational motivation, good role models, intellectual stimulation, individualized consideration, respectively; 2) the level of teachers’ work motivation overall and each aspect was at a high level in all aspect, ranking by the mean scores from high to low: relations, progress opportunity, and existence, respectively; 3) the relationship between school administrators’ transformational leadership and teachers’ work motivation was at the highest positive correlation with the .01 level of significance, and 4) school administrators’ transformational leadership in terms of good role models, individualized consideration, inspirational motivation, and intellectual stimulation affecting teachers’ work motivation at the .01 level of significance, and could predict teachers’ work motivation at 99.30 percent. The predictive equation could be written in form of standard scores as Z'Y = .093Z4 + .384Z3 + .334Z1 + .292Z2.

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

จอมพงศ์ มงคลวนิช. (2556). การบริหารองค์การและบุคลากรทางการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: วี.พริ้นท์.

จาตุรนต์ ฉายแสง. (2556). 8 นโยบายการศึกษาไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ.

จิตรา น้ำใส. (2559). การศึกษาแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการครูโรงเรียนในอำเภอขลุง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 2. งานนิพนธ์ กศ.ม. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

จิรายุ ศรีสง่าชัย. (2561). รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 2. วิทยานิพนธ์ ค.ด. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

ชัยเสฏฐ์ พรหมศรี. (2561). ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารองค์การ. กรุงเทพฯ: ปัญญาชน.

เชษินีร์ แสวงสุข. (2560). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของครู. วิทยานิพนธ์ ค.ม. จันทรบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี.

นันท์นภัส งามขำ. (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารกับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานตามการรับรู้ของครูในโรงเรียนเอกชน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

นิติพล ภูตะโชติ. (2556). พฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พนารัตน์ ชื่นอารมย์. (2562). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการสร้างขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2. วิทยานิพนธ์ ค.ม. นครปฐม: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.

มัณฑนา ชุมปัญญา. (2563). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 2. วิทยานิพนธ์ ค.ม. สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

มุทิตา สมศรี และทินกร พูลพุฒ. (2561). ปัจจัยด้านภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูผู้สอนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 2. วารสารวิจัยและพัฒนาวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์, 13(2), 241.

รัตติกรณ์ จงวิศาล. (2556). ภาวะผู้นำ: ทฤษฎี การวิจัย และแนวทางสู่การพัฒนา. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ฤทธิชัย บัลลังค์. (2559). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มโรงเรียนอำเภอแก่งหางแมว สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1. งานนิพนธ์ กศ.ม. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

วิโรจน์ สารรัตนะ. (2557). ภาวะผู้นำ ทฤษฎี และนานาทัศนะร่วมสมัยปัจจุบัน. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรีเขต 3. (2559). แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2559-2562 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3. ชลบุรี: สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3.

________. (2563). แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2563-2566 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3. ชลบุรี: สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3.

สินีนาฏ โพธิจิญญาโน. (2554). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงกับการจัดการความรู้ของครูในเครือข่ายโรงเรียนที่ 22 สำนักงานเขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สุดารัตน์ บุษบา. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษากับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนสฤษดิเดช สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1. งานนิพนธ์ กศ.ม. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

สุนันทา ศรีบุญนำ. (2559). การศึกษาพฤติกรรมผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28. วารสารศึกษาศาสตร์, 27(1), 176.

Bass, B. M., & B. J. Avolio. (1994). Improving Organization Effectiveness Through Transformation Leadership. California: Sage.

Fullan, M. (2006). The moral imperative of school leadership. Thousand Oaks: Corwin.

Kouzes, J. M., & Posner, B. Z. (2012). Leadership the Challenge Workbook. California: Jossey-Bass.

Krejcie, R. V., & Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research activities. Educational and Measurement.

Likert, R. (1967). The Human Organization: Its Management and Value. New York: McGraw-Hill.