Suphaphit Udonsan การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม เรื่อง ถิ่นรุ่งเรือง เมืองภูไทวาริชภูมิของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ จังหวัดสกลนคร

Main Article Content

Suphaphit Udonsan
Pornthep Steannoppakao

Abstract

This research aims to 1) develop a school curriculum for Social Studies, Religion, and Culture Area, entitled Rung Rueang Mueang Phuthai Waritchaphum for Mathayomsuksa 1 students at Mathayom Waritchaphum School, and 2) examine the efficiency of the developed curriculum by investigating the efficiency to meet the 80/80 criteria, comparing the learning achievement before and after the intervention, and exploring the student satisfaction towards the developed curriculum. The sample group consisted of 30 Mathayomsuksa 1 students at Waritchaphum Secondary School, Sakon Nakhon Province in the academic year 2020, obtained through cluster random sampling using the classroom as a random unit. Research tools were a school curriculum and lesson plans, a learning achievement test, and a satisfaction questionnaire. The statistics for data analysis were percentage, mean, standard deviation, and Dependent Samples t-test. The findings were as follows: 1. The school curriculum of Social Studies, Religion, and Culture Area, entitled Rung Rueang Mueang Phuthai Waritchaphum for Mathayomsuksa 1 students consisted of four components: curriculum objectives, contents, curriculum implementation, and evaluation. 2. The efficiency of the developed school curriculum was 80.11/89.83, which was higher than the defined criteria of 80/80. The students’ learning achievement after the intervention was higher than that before the intervention at the .01 level of significance, and the student satisfaction with the developed school curriculum was overall at the highest level (gif.latex?\bar{x}= 4.96, S.D. = 0.03).

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). เอกสารประกอบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพ.ศ. 2551 คู่มือการจัดการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

จิตรลดา ทองอันตัง (2550). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามแนวคิดการเรียนรู้ โดยการรับใช้สังคมร่วมกับ แนวคิดการเรียนรู้เชิงสถานการณ์ เพื่อเสริมสร้างจิตสาธารณะ ความสามารถในการถ่ายโยงการเรียนรู้ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ ค.ม. สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

จิราพร สมประสงค์. (2553). การพัฒนาหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมหน่วยการเรียนรู้ อำเภอ หนองใหญ่ จังหวัดชลบุรี สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

ดวงกมล มหาโยธี. (2553). การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษารายวิชาเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง การทำผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านเปือยทานตะวันพิทยาสรรพ์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 2. วิทยานิพนธ์ ค.ม. สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

ดวงนภา จั่นคำ. (2554). การพัฒนาหลักสูตรบูรณาการ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมเรื่องรักษ์เอกลักษณ์ไทยสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โครงการการศึกษาพหุภาษา ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษาจังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

ทิศนา แขมมณี. (2545). 14 วิธีสอนสำหรับครูมืออาชีพ. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เทียน เตยหล้า. (2553). การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง เกษตรครบวงจรแบบบูรณาการ โรงเรียนบ้านจานเตย ตำบลทุ่งกุลา อำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

ธีระพงษ์ ดํารงค์ไชย. (2553). การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นเรื่องอําเภอเมือง จังหวัดชลบุรี สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

นาวา ศรีษะเนตร. (2553). การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา เรื่อง การทำน้ำปลาจากปลาร้าชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านท่าวัด “คุรราษฎร์บำรุงวิทย์” สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1. วิทยานิพนธ์ ค.ม. สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

บุญชม ศรีสะอาด. (2546). การพัฒนาหลักสูตรและการวิจัยเกี่ยวกับหลักสูตร. (พิมพ์ครั้งที่ 3) กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์นการพิมพ์.

เผชิญ กิจระการ. (2544). ดัชนีประสิทธิผล Effectiveness Index. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

พรทิสา สรสิทธิ์. (2557). การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษารายวิชาเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่องไทโส้กุสุมาลย์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2. โรงเรียนบ้านกุดสะกอย สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1. วิทยานิพนธ์ ค.ม. สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

มนสิช สิทธิสมบูรณ์. (2550). ระเบียบวิธีวิจัย. (พิมพ์ครั้งที่ 8). พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.

เยาวนา สิทธิเชนทร์. (2560). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติ ของแฮร์โรว์ เรื่อง งานประดิษฐ์จากวัสดุเหลือใช้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

รัชนี สุขสวัสดิ์ (2550). การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา เรื่องงานประดิษฐ์จากวัสดุ ในท้องถิ่นสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนคำบงพิทยาคม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากาฬสินธุ์ เขต 3. วิทยานิพนธ์ ค.ม. สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏ สกลนคร.

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา SELF ASSESSMENT REPORT. (2561). โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ.

วัฒนา สุวรรณไตรย์. (2548). ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับหลักสูตร: เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชาการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน. สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

วัฒนาพร ระงับทุกข์ (2545). แผนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: วัฒนาพานิช.

วิชัย ประสิทธิ์วุฒิเวชช์. (2542). การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น : สานต่อที่ท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: บริษัท เซ็นเตอร์ดิสคัฟเวอรี่ จำกัด.

วาโร เพ็งสวัสดิ์. (2551). วิธีวิทยาการวิจัย. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

สุริยา กำธร. (2553). การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. โรงเรียนวัดนาคนิมิต. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สกุลวัฒน์ รัชนีกร. (2559). การพัฒนาหลักสูตรหน่วยการเรียนรู้เรื่องเมืองพัทยา กลุ่มสาระสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

อภิระดี ศรีบุญเรือง. (2555). การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น เรื่อง การทอผ้าลายมุก กลุ่มสาระการ เรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านนาตงสหราษฎร์อุทิศ. วิทยานิพนธ์ ค.ม. สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

อวยพร ออละมาลี. (2553). การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา เรื่องวัฒนธรรมชนเผ่าภูไทบ้านโนนกุง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านโนนกุง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร เขต 1. วิทยานิพนธ์ ค.ม. สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.