การบริหารความขัดแย้งของผู้บริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดระยอง
Main Article Content
Abstract
The objectives of this research were to study 1) the levels of conflict management of administrators; 2) the levels of effectiveness of educational institutions; 3) the relationship between administrators’ conflict management and the effectiveness of educational institutions; and 4) administrators’ conflict management affecting the effectiveness of educational institutions under Rayong Vocational Education.The sample consisted of 274 teachers working under Rayong Vocational Education in the academic year 2020. The research instrument was a set of questionnaires. The statistics for data analysis were percentage, mean, standard deviation, Pearson’s product-moment correlation coefficient and Stepwise multiple regression analysis. The research findings revealed that: 1. The conflict management of administrators in educational institutions under Rayong Vocational Education as perceived by teachers, overall and each aspect was at a high level, ranking by mean scores from high to low as follows: compromise, cooperation, coercion, and avoidance, respectively. 2. The effectiveness of education institutions under Rayong Vocational Education as perceived by teachers, overall and each aspect was at a high level, ranking by mean scores from high to low as follows: students and graduates, curriculum and instructional management, teachers, basic factors, participation, and administrators, respectively. 3. The relationship between administrators’conflict management and the effectiveness of educational institutions under Rayong Vocational Education was positive at a high level (rxy =.797) with the .05 level of significance. 4. Administrators’conflict management affecting the effectiveness of educational institutions under Rayong Vocational Education were as follows: compromise, cooperation, coercion, and avoidance. The variables could predict the effectiveness of educational institutions at 64.70 percent and be written as the forecasting equation in the form of standardized scores as follows: Z'Y = .309X3 +.291X2 +.233X1 +.123X4.
Article Details
บทความทุกบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ถือว่าเป็นลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
References
กรชนก แย้มอุทัย. (2557). ประสิทธิผลสถานศึกษาตามทรรศนะของบุคลากรทางการศึกษาของการศึกษา. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562. กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.
_______. (2561). ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561. กระทรวงศึกษาธิการ.
เกียรติคุณ เสนาะ ติเยาว์. (2551). หลักการบริหาร. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
จิรารัตน์ เขียนรูปครุฑ. (2558). การบริหารความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรีเขต 3. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.
ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์. (2551). พฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็นยูเคชั่น, บมจ.
ธร สุทรายุทธ. (2556). ทฤษฎีองค์กรและพฤติกรรม. ชลบุรี: เนติกุลการพิมพ์.
นิติพล ภูตะโชติ. (2556). พฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เนตร์พัณณา ยาวิราช. (2556). ภาวะผู้นำและผู้นำเชิงกลยุทธ์. (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: ทริปเพิ้ล.
ปารวี อ่อนกำปัง. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารความขัดแย้งกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ของข้าราชการครูสังกัดกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธนบุรี.
พจนีย์ มั่งคั่ง. (2560). ทฤษฎีหลักการและกระบวนการทัศน์ในการบริหารการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ทริปเพิ้ล.
พเยีย มูหะหมัด. (2557). วิธีการบริหารความขัดแย้งของผู้บริหาร ที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2. วิทยานิพนธ์ ค.ม. ฉะเชิงเทรา: มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.
ภารดี อนันต์นาวี. (2557). หลักการ แนวคิด ทฤษฎีทางการบริหารการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 5). ชลบุรี: มนตรี.
รังสิวุฒิ ป่าโสม. (2556). การบริหารความขัดแย้งกับประสิทธิผลของสถานศึกษาในอำเภอองครักษ์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครนายก. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
สถาพร ปิ่นเจริญ. (2556). ภาวะผู้นำกับการจัดการ. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: จามจุรีโปรดักส์.
สมคิด บางโม. (2558). องค์การและการจัดการ. (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: วิทยพัฒน์.
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (2560). แผนพัฒนาการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2560-2579. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา.
_______. (2561). แนวทางการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561. ฉบับปรับปรุง (ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2562). มาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.
สำนักงานอาชีวศึกษาจังหวัดระยอง. (2562). แผนพัฒนาอาชีวศึกษาจังหวัดระยอง. ระยอง: อาชีวศึกษาจังหวัดระยอง.
อรุณรัตน์ แดงกระจ่าง. (2557). การบริหารความขัดแย้งที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการดำเนินงานตามพันธกิจในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1. วิทยานิพนธ์ ค.ม. เพชรบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี.
Hoy, W. K., & Miskel, C. G. (2013). Educational administration. (9th ed.). New York: McGraw- Hill.
Johnson, David W. & Johnson, Frank P. (2000) Joining Together: Group Theory and Group Skills. Egnlewool Chiffs, New Jersey: Prentice-Hall.
Krejcie, Robert V. & Morgan, Daryle W. (1970). Determining Sample Size for Research Activities. Educational and Psychological Measurement, 30, 607-610.
Likert, Rensis. (1961). The human organization: Its management and vale. New York: McGraw-Hill.
Rahim, M. A. (2010). Managing Conflict in Organizations. Piscataway, NJ: Transaction Publishers.