คุณลักษณะผู้บริหารยุคใหม่ที่ส่งผลต่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาฉะเชิงเทรา

Main Article Content

Teerapong Kanjanasakool
Kanporn Aiemphaya
Niwat Noymanee

Abstract

The objectives of this research were to examine: the level of administrators’ characteristics in a new era; 2) the level of being a learning organization in school settings; 3) the relationship between administrators’ characteristics in a new era affecting learning organization in school settings, and 4) administrators’ characteristics in a new era affecting learning organization in school settings under the Secondary Educational Service Area Office, Chachoengsao. The research samples consisted of 297 teachers under the Secondary Educational Service Area Office, Chachoengsao, obtained through the stratified sampling. The research instrument was a set of questionnaires with a reliability of .98. The statistics for data analysis were percentage, mean, standard deviation, Pearson’s product-moment correlation coefficient, and Multiple regression analysis.


The research findings revealed that 1) The overall level of administrators’ characteristics in a new era was at a high level, ranking by mean scores from high to low as follows: community building, commitment and perseverance, communication, and inspiration, 2) The overall level of being learning organization in school settings was at a high level, ranking by mean scores from high to low as follows: shared vision, systematic thinking, mental models, team learning, and personal mastery, 3) The relationship between administrators’ characteristics in a new era and learning organization in school settings had a positive correlation at the .05 level of significance, and 4)  Administrators’ characteristics in a new era affecting learning organization in school settings consisting of community building, commitment and perseverance, communication, and inspiration, were able to predict the learning organization in school settings at 62.90 percent, and could be written as a forecast equation in the standard scores as follows:


       gif.latex?\!&space;Z'Y = .260Z4 +.306Z1 +.217Z2 +.131Z3

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

กิ่งกาญจน์ แสนสุข. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษากับองค์การแห่งการเรียนรู้สถานศึกษาในจังหวัดกาญจนบุรีสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 8. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

คนึงนิตย์ กิจวิธี. (2561). คุณลักษณะของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1. วารสารวิจัยราชภัฏกรุงเก่า, 5(1) 33-40.

คมคาย น้อยสิทธิ์. (2561). ผู้บริหารยุคการศึกษา 4.0 Administrator of the Education 4.0 Era. วารสารครุศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 46(4) 40-57.

ชัยยนต์ เพาพาน. (2559). ผู้บริหารสถานศึกษายุคใหม่ในศตวรรษที่ 21. วารสารบริหารการศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น, 12(1), 1-9.

ชิดกมล ยะสุรินทร์. (2562). คุณลักษณะผู้บริหารในศตวรรษที่ 21 ที่ส่งผลต่อการมีส่วนร่วมของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2. e-Journal of Education Studies Burapha University, 1(5), 35-50.

ทองเพียร เตยหอม. (2562). แนวทางการพัฒนาความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุทัยธานี เขต 1. วิทยานิพนธ์ ค.ม. นครสวรรค์: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.

ธีระ รุญเจริญ. (2554). ความเป็นมืออาชีพในการจัดการและบริหารการศึกษายุคปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพฯ: ข้าวฟ่าง.

นันทวิชญ์ ฉัตรบรรยงค์. (2554). รูปแบบการพัฒนาสถานศึกษาขึ้นพื้นฐานคาทอลิก สังกัดสังฆมณฑลในประเทศไทยเพื่อส่งเสริมการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้. วารสาร EAU HERITAGE, 2(1), 54-66.

นิมิตร โสชารี. (2559). รูปแบบการพัฒนาองค์การแห่งการเรียนรู้ของเทศบาลตำบลในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์ รป.ด. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

นิรันดร์ สุธีนิรันดร. (2558). การศึกษาความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้โดยใช้แนวทางส่งเสริมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดกรุงเทพมหานคร. วารสารปาริชาต, 28(1), 156-173.

บุษยมาศ สิทธิพันธ์. (2559). ความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียนมัธยมศึกษาในอำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

ปรัตถกร รติฤทยาวงศ์. (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะของผู้บริหารโรงเรียนกับองค์การแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียนคาทอลิก สังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

พเยาว์ สุดรัก. (2553). สมรรถนะหลักของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 1. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรี.

ไพฑูรย์ สินลารัตน์ และคณะ. (2560). โรงเรียน 4.0 โรงเรียนผลิตภาพ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

มาโนช จันทร์แจ่ม. (2555). การบริหารจัดการทั้งระบบ. จดหมายข่าว, 4(125), 1-5.

วรรษมน เมธีวิวัฒน์. (2561). คุณลักษณะของผู้บริหารที่สัมพันธ์กับลักษณะองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรีเขต 1. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 1(1), 47-63.

วสันต์ สุทธาวาศ. (2559). การพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างศักยภาพความเป็นนวัตกรการศึกษา. Veridian E-Journal ฉบับมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์และศิลปะ, 9(2), 194-215.

วาริน แซ่ตู. (2562). คุณลักษณะของผู้บริหารสถานศึกษายุคใหม่ที่ส่งผลต่อสมรรถนะการปฏิบัติงานของครูในศตวรรษที่ 21 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6 จังหวัดสมุทรปราการ. วิทยานิพนธ์ ค.ม. ฉะเชิงเทรา: มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.

วิจารณ์ พานิช. (2550). วิถีแห่งองค์การอัจฉริยะ. จุลสารอุตสาหกรรมสัมพันธ์, 73, 2-3.

_______. (2552). แนวทางการทำงานของสมาชิกสภามหาวิทยาลัยในสหราชอาณาจักร. กรุงเทพฯ: สถาบันคลังสมองของชาติ.

_______. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรีสฤษดิ์วงศ์.

ศิริลักษณ์ มีจันโท. (2560). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะของผู้บริหารสถานศึกษากับการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1. วารสารวิจัยราชภัฏกรุงเก่า, 4(2), 17-24.

สำนักงาน ก.ค.ศ. (2564). หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักงาน ก.ค.ศ.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2550). การปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.

สำนักติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2562). มาตรฐานการติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัด เอ็น.เอ.รัตนะเทรดดิ้ง.

สำนักพัฒนาระบบบริหารงานบุคคลและนิติการ. (2562). คู่มือการประเมินสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในระยะเวลา 1 ปี. กรุงเทพฯ: สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา.

สิทธิพร นิยมศรีสมศักดิ์. (2555). การพัฒนาโรงเรียนให้เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้: แนวปฏิบัติที่เป็นรูปธรรม. วารสารวิทยบริการ, 23 (1), 17-30.

สุธรรม ธรรมทัศนานนท์. (2554). หลักการ ทฤษฎี และนวัตกรรมการบริหารการศึกษา. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สุภะรัฐ ยอดระบำ. (2562). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของเทศบาลไทย. วารสารรัฐศาสตร์ปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 6(2), 133-156.

หนูกัณฑ์ ปาโส. (2562). สมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อองค์การแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียนเอกชนในจังหวัดร้อยเอ็ด. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม, 9(3), 62-70.

อรสา จรูญธรรม. (2563). รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลต่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, 14(2), 215-228.

Couros, G. (2010). The 21st Century Principal [online]. Retrieved January 1, 2020. From http://connectedprincipals.com/archives/1663. November 15th, 2020.

Cronbach, L. J. (1990). Essentials of psychological testing. (5thed.). New York: Harper Collins Publishers.

Krejcie, R. V., & Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research activities. Educational and Psychological Measurement, 30, 608.

Likert, R. (1967). “The Method of Constructing and Attitude Scale”. In Reading in Fishbeic, M (Ed.), Attitude Theory and Measurement. New York: Wiley & Son.

Marquardt, M. (2011). Building the Learning Organization. New York: McGraw-Hill.

Maxine, A. B. (2015). Success for the New Global Manager: How to Work Across Distances, Countries, and Cultures. San Francisco: Jossey-Bass.

Northouse, P. G. (2012). Leadership: Theory and practice. Los Angeles: SAGE Publications, Inc.

Örtenblad, A. (2019). The Oxford Handbook of the Learning Organization. New York: Oxford University Press.