การพัฒนาชุดการจัดประสบการณ์เรียนรู้โดยใช้กิจกรรมกลุ่มร่วมกับกระบวนการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ตามแนวคิดของทอแรนซ์ที่มีผลต่อความสามารถในการคิดแก้ปัญหา ความเชื่อมั่นในตนเองและทักษะทางสังคมของเด็กปฐมวัย
Main Article Content
Abstract
The research aimed to 1) develop a learning experience package based on group activities with Torrance's creative problem-solving process for early childhood, 2) compare early childhood’s problem-solving ability before and after the intervention, 3) compare early childhood’s self-confidence before and after the intervention, 4) compare the social skills of early childhood before and after the intervention, and 5) compare the problem-solving skills, self-confidence, and social skills that were nurtured by the parents of early childhood before and after the intervention. The sample group, obtained through cluster random sampling, was 33 early childhood students aged 4-5 years studying in Kindergarten 2 at Naangmuangkham School under Sakon Nakhon Primary Educational Service Area Office 1 in the second semester of the academic year 2019. A class of students was selected using a simple random sampling from two classes with similar characteristics. The tools for data collection were a set of questionnaires and an assessment form for parents’ practices on child’s rearing. The statistics for data analysis were number, percentage, mean, and standard deviation, a t-test for Dependent Samples for testing mean difference, One-Way MANCOVA, and One-Way ANCOVA.
The results of the research were as follows: 1. The developed learning experience package had an effectiveness index of 0.81, indicating that the mean test scores of knowledge among all students were increased to 0.81, or 81 percent, and a coefficient of variation (CV) equal to 5.38. 2. The problem-solving thinking ability, self-confidence, and social skills of early childhood after the intervention were higher than those before the intervention at the .05 level of significance. 3. The early childhood with different parenting styles after the intervention demonstrated different problem-solving thinking ability, self-confidence, and social skills at the .01 level of significance.
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความทุกบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ถือว่าเป็นลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
References
กรมวิชาการ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย. (2560). หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช 2560. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการ.
เกศรินธร ทารี. (2556). อิทธิพลการอบรมเลี้ยงดูเด็กต่อความคาดหวังในบทบาทของบิดาของนิสิตชาย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ปริญญานพนธ์ กศ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
จิราภรณ์ ส่องแสง. (2550). ผลการใช้กิจกรรมศิลปะบูรณาการที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาของเด็กปฐมวัย. วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรฒ, 9(4), 66-79.
จุฑามาศ แก่นเพ็ชร และคณะ. (2559). โครงการเสริมสร้างสุขอนามัย สุขนิสัยเด็กปฐมวัย (กิจกรรมหนูน้อยสุขภาพดี). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสวนดุสิต.
ชนกนาถ จริตซื่อ. (2549). การเปรียบเทียบพฤติกรรมความเชื่อมั่นในตนเองของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์แบบไฮ/ สโคป. วิทยานิพนธ์ ค.ม. พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.
ณัฏฐนิช สะมะจิตร์. (2558). การพัฒนาความสามารถในการคิดแก้ปัญหาของเด็กปฐมวัย โดยการจัดประสบการณ์ด้วยกระบวนการทางวิจัย. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ดุลยา จิตตะยโศธร. (2558). รูปแบบการอบรมเลี้ยงดู : แนวคิดของ Diana Baumrind's Parenting Stytes. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย, 29(4), 187-192.
ถนอมรัตน์ ประสิทธิเมตต์. (2558). พัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย เขตบริการสุขภาพที่ 4. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.
ธิรากร มณีรัตน์. (2556). การพัฒนาทักษะทางสังคมสำหรับนักเรียนออทิสติกใน โรงเรียนเรียนร่วม ระดับประถมศึกษาโดยใช้เรื่องราวทางสังคม. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
นภเนตร ธรรมบวร. (2553). การพัฒนากระบวนการคิดในเด็กปฐมวัย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
. (2558). บทบาทของครอบครัวกับการศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ
นิตยา ประพฤติกิจ. (2556). การพัฒนาเด็กปฐมวัย. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
นุช เล็กประโคน. (2557). ผลการจัดกิจกรรมแบบปฏิบัติการทดลองที่มีต่อทักษะการแสวงหาความรู้ของเด็กปฐมวัย โรงเรียนเทศบาล 2 “อิสาณธีรวิทยาคาร” จังหวัดบุรีรัมย์. วิทยานิพนธ์ ค.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.
บุญฤทธิ์ บุญยงมณีรัตน์. (2554). ผลของการจัดการเรียนการสอนเรื่องน้ำโดยใช้กระบวนการคิดแก้ปัญหาอนาคตที่มีต่อพฤติกรรมการใช้น้ำตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของเด็กวัยอนุบาล. วิทยานิพนธ์ ค.ม. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ผาสุก ปิ่นแก้ว. (2552). การศึกษาความสัมพันธ์การอบรมเลี้ยงดูในครอบครัวกับความคิดสร้างสรรค์ของเด็กก่อนเรียน. ปริญญานิพนธ์ วท.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
พิมพิกา คงรุ่งเรือง. (2542). การศึกษาลักษณะพฤติกรรมความเชื่อมั่นในตนเองของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการ เคลื่อนไหวและจังหวะตามแกนแห่งการเรียนรู้ของไฮสโคป. ปริญญานิพนธ์ ค.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
พิมพ์บุญ ไวว่อง. (2557). ความสามารถในการแก้ปัญหาของเด็กปฐมวัยที่สอนโดยกิจกรรมเล่านิทานปลายเปิด ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเป็ด อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น. Journal of Education Khon Kaen University (Graduate Studies Research), 2(1), 127-135.
ภิรฎา กิจพัฒนาเจริญ. (2556). ผลพัฒนาความเชื่อมั่นในตนเองในการแสดงบนเวทีของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝ่ายประถม). วิทยานิพนธ์ ค.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
โรงเรียนบ้านนาอ่างม่วงคำ. (2561). รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2561 สกลนคร. สกลนคร: สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1.
ลักขณา สริวัฒน์. (2556). จิตวิทยาในชีวิตประจําวัน. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
ศุภฤทธิ์ ไชยเลิศ. (2557). ความสามารถในการคิดแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่เรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน. วารสารพิฆเนศวร์สาร, 11(2), 86–99.
สัณห์หทัยวิทยา รังสีพงษ์. (2556). ปัจจัยชีวสังคมแลการอบรมเลี้ยงดูที่เกี่ยวข้องกับ ความสามารถในการคิดอย่างมีเหตุผลรอบด้านของนักเรียนอาชีวะศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ์ ค.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ. (2562). กรอบยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579). กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
สิริมา ภิญโญอนันต์ตพงษ์. (2556). แนวคิดสู่แนวปฏิบัติ: แนวการจัดประสบการณ์ปฐมวัยศึกษา. กรุงเทพฯ: ดวงกลม.
สุวิทย์ มูลคำ. (2553). 19 วิธีจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะ. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.
อารี รังสินันท์. (2550). การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของเด็กนักเรียนวัยรุ่น. เอกสารการ สอนชุดวิชา พฤติกรรมวัยรุ่น หน่วยที่ 11 (ข). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช.