การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง ควบคู่กับโปรแกรม The Geometer’s Sketchpad เรื่อง ฟังก์ชัน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4

Main Article Content

Sasinapa Thammakul

Abstract

The purposes of this study were 1) to develop mathematics learning activities based on constructivist theory through the use of the Geometer’s Sketchpad on Function for Matayomsuksa 4 students to meet the efficiency criteria of 75/75, 2) to examine the effectiveness index of the developed mathematics learning activities, 3) to compare the students’ learning achievement before and after the intervention, and 4) to explore students’ satisfaction toward the develop mathematics learning activities. The sample group, obtained through cluster random sampling, was Mathayomsuksa 4/1 with 31 students at Sakonthawapi School in the second semester of the 2019 academic year. The research instruments consisted of 1) eight lesson plans, and  2) a learning achievement test. The statistics for data analysis were mean, standard deviations, and Dependent Samples t-test.


The results revealed that:                                1. The efficiency of the developed mathematics learning activities was 79.95/ 77.26, which met the 75/75 criteria.                2. The effectiveness index of the developed mathematics learning activities was 0.6709, indicating that the students’ learning progress achieved 67.09 percent.                  3. The students’ learning achievement after the intervention was higher than that of the pre-intervention performance at the .01 level of significance.                                            4. The students’ satisfaction toward the developed mathematics learning activities was at a high level (gif.latex?\bar{x}= 4.15, S.D.= 0.39).

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

กรมวิชาการ, กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2545. กรุงเทพฯ: องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.).

________. กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว.

กิตติพร อาจวิชัย. (2554). การพัฒนาบทเรียนปฏิบัติการโดยใช้โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad (GSP) เรื่อง พาราโบลากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. วิทยานิพนธ์ ค.ม. สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

เกษสุดา บูรณพันศักดิ์. (2545). การศึกษามโนทัศน์ เรื่อง ฟังก์ชัน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ในโรงเรียนสังกัดกรมสามัญศึกษากรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ ค.ม. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชนาธิป พรกุล. (2554). การสอนกระบวนการคิด ทฤษฎีและการนำไปใช้. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ทองขาว แสงสุริจันทร์. (2550). การศึกษาระดับการคิดเชิงเรขาคณิตของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นของประเทศลาวโดยใช้โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ทิศนา แขมมณี. (2547). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

_________. (2548). ศาสตร์การสอน องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

_________. (2553). ศาสตร์การสอน. องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. (พิมพ์ครั้งที่ 13). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ธงชัย จันทร์ปัญญา. (2554). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้โปรแกรมจีเอสพี เรื่อง เวกเตอร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์ วท.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

นลินี ณ นคร. (2552). หลักการวัดและประเมินการคิด เล่มที่ 1. นนทบุรี: โครงการพัฒนาเด็กและ เยาวชนในถิ่นทุรกันดารตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี.

น้ำผึ้ง ชูเลิศ. (2553). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การเแปลงทางเรขาคณิต โดยใช้โปรแกรม The Geometer's Sketchpad สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. วิทยานิพนธ์ วท.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

นิภาพร นาอ่อน. (2545). การศึกษาและการแก้ไขข้อบกพร่องทางการเรียน เรื่องฟังก์ชันของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

เนืองนิตย์ ชาวนาฮี. (2553). การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ เรื่อง เศษส่วน ชั้นประถมศึกษา 6. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. มหาสารคาม. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

บุญทัน สุตพงศ์. (2550). การพัฒนาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์เรื่องแบรี่เซ็นเตอร์โดยใช้โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad เป็นเครื่องมือประกอบการเรียนรู้สำหรับนักศึกษา มหาวิทยาลัยสุภานุวงศ์ ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ปาจิตร ศรีสะอาด. (2553). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ โดยใช้โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad เรื่องพาราโบลา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ฝ่ายวิชาการ โรงเรียนสกลทวาปี. (2561). รายงานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียน ประจำปีการศึกษา 2561. สกลนคร: โรงเรียนสกลทวาปี.

ไพจิตร สดวกการ. (2539). ผลการสอนคณิตศาสตร์ตามแนวคิดของทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อ ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชา คณิตศาสตร์และความสามารถในการถ่ายโยงการเรียนรู้ของ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น. วิทยานิพนธ์ ค.ด. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ภัทรวดี สุภัทโรบล. (2557). การพัฒนาบทเรียนปฏิบัติการโดยใช้โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad (GSP) ตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง พาราโบลา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. ในเวทีนำเสนอผลงานการประชุมวิชาการและนำเสนอผลการวิจัย ระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 5 กลุ่มระดับชาติ ด้านวิทยาศาสตร์ (หน้า 133–144). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

วันซัลมา ปานากาเซ็ง. (2560). กิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามทฤษฎีคอนสตรัคติวสติ ์เรื่องกาหนดการเชิงเส้น โดยใช้โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ วท.ม. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

วิชัย โพธิ์ศรี. (2555). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์โดยใช้บทเรียนโปรแกรม GSP เรื่องเรขาคณิตวิเคราะห์เบื้องต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนทรายทองวิทยา. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27.

วิธินี บัวเผื่อน. (2559). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ ที่เน้นกระบวนการ แก้ปัญหา โดยใช้โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad เป็นเครื่องมือช่วยในการเรียนรู้ เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม, 6(3), 133-141.

สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย. (2557). การปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐานให้เกิดความรับผิดชอบ, ฉบับที่ 103 พฤษภาคม 2557 เรื่อง การจัดทำยุทธศาสตร์การปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐานให้เกิดความรับผิดชอบ. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). คู่มือแนะนำการใช้งาน The Geometer’s Sketchpad ซอฟแวร์สำรวจเชิงคณิตศาสตร์เรขาคณิตพลวัต. กรุงเทพฯ: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ. (2548). คู่มืออ้างอิง The Geometer’s Sketchpad ซอฟต์แวร์สำรวจเชิงคณิตศาสตร์ เรขาคณิตพลวัต เวอร์ชัน 4.06. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

________. (2555). ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: 3-คิว มีเดีย.

สมจิตร บุญเทียม (2553) การพัฒนากิจกรรมการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ภาคตัดกรวย โดยใช้โปรแกรมจีเอสพี (The Geometer’s Sketchpad : GSP). วิทยานิพนธ์ วท.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2559). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564). ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 133 ตอนที่ 115 ก ลงวันที่ 30 ธันวาคม 2559.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579. กรุงเทพฯ: บริษัทพริกหวานกราฟฟิค จำกัด.

สิริณัฏฐ์ ประจิมทิศ และผู้แต่งคนอื่น ๆ. (2553) การศึกษาความเข้าใจในมโนมติทางคณิตศาสตร์เรื่องจำนวนเต็มโดยใช้สถานการณ์จริงและโปรแกรม The Geometer's Sketchpad เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

สุนทรีย์ สาวงศ์นาม. (2550). การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์เรื่องเส้นตรงโดยใช้ The Geometer’s Sketchpad เป็นเครื่องมือประกอบการเรียนรู้. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

เสรี สุขโยธิน. (2556). GSP โปรแกรมคณิตศาสตร์ที่ต้องเรียนรู้ เล่มที่ 2 การสร้างสรรค์ผลงาน. กรุงเทพฯ: เดอะบุคส์.

แสงดาว เพชรสมบัติ และผู้แต่งคนอื่น ๆ. (2553) การศึกษาความเข้าใจในมโนมติทางคณิตศาสตร์เรื่องเวกเตอร์โดยใช้โปรแกรม the Geometer's Sketchpad (GSP) เป็นเครื่องมือช่วยในการเรียนรู้สำหรับนักศึกษา มหาวิทยาลัยสุภานุวงศ์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

อำภาภรณ์ บริวงษ์. (2553). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ เรื่อง การบวก ลบระคน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

Almeqdadi, F. (2000). The effect of using the geometer’s sketchpad (GSP) on Jordanian students’ understanding of geometrical concepts. Proceedings of the International Conference on Technology in Mathematics Education. 163-169.

Best, John W. (1986). Research in Education. (5th ed). New Jersey: Prentice Hall, Inc.

Heingraj, C. (2006). Roles of Geometer’s Sketchpad in Students’ Processes of Geometric Conceptual Construction on Translation: A case study. Paper presented at the Thailand International Conference on 21st Century Information Technology in Mathematics Education, held at Chiang Mai Rajabhat University, Chiang Mai, Thailand, September 17-20.

Lloyd, M. and Wilson, M. (1998). Supporting innovation: The impact of a teacher’s conceptions of functions on his implementation of a reform curriculum. Journal for Research in Mathematics Education, 29(3), 248-274.

National Council of Teachers of Mathematics. (2000). Principles and Standards for School Mathematics. Reston, VA: NCTM.

O’Callaghan. (1998). Computer-intensive algebra and students’ conceptual knowledge of functions. Journal for Research in Mathematics Education, 29(1), 21-40.

Underhill, R. G. (1991). Two Layers of Constructivist Curricular Interaction. In E. von Glasersfeld (ed.), Radical Constructivist in Mathematics Education, pp. 229-248. The Natherlands: Kluwer Academic.