การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ เพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการทำงาน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

Main Article Content

Tanaporn Nontasaen

Abstract

The purposes of this research were to 1) develop learning activities using the Davies' instructional model for promoting work process skills in the career learning substance group for Mathayomsuksa 3 students to meet the efficiency criteria of 80/80, 2) compare the students’ learning achievement before and after the intervention. 3) compare the students’ work process skills, after learning through the developed learning activities, with the criterion of 80 percent, and 4) examine the students’ satisfaction toward the developed learning activities. The sample, obtained through cluster random sampling, consisted of 29 students of Mathayomsuksa 3/2 in the first semester of the academic year 2020 at Sakonthawapi School, Sakon Nakhon province. The research instruments were:1)six lesson plans, 2) a learning achievement test, 3) a work process skills test, and 4) a satisfaction questionnaire. The statistics for data analysis were percentage, mean, standard deviation, and Dependent Samples t-test.   


The findings were as follows:                                                      1. The efficiency of the developed learning activities was 82.91/81.95, which met the 80/80 criteria.                                2. The students' learning achievement after the intervention was higher than that of the pre-intervention at the .05 level of significance.                                                          3. The work process skills of students after the intervention were 20.61 (85.87 percent), which was higher than the 80 percent criterion.                                                                            4. The students’ satisfaction toward the developed learning activities was at a high level (gif.latex?\bar{x}= 4.18 , S.D. = 0.63)

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

กมลวรรณ ตั้งธนกานนท์. (2559). การวัดและประเมินทักษะการปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2545. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

________. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

________. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว.

จริยา สงเคราะห์. (2558). การพัฒนาทักษะปฏิบัติงานและจิตสำนึกในการทำงานโดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นทักษะปฏิบัติของเดวีส์ เรื่อง การทำขนมปุยฝ้าย กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ ค.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

จารุวรรณ ครองสำราญ. (2561). ผลการจัดการเรียนรู้ตามทักษะปฏิบัติของเดวีส์ เรื่อง การใช้โปรแกรม excel เบื้องต้น กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. ในเวทีนำเสนอผลงานประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติด้านมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2561 (หน้า 1-8). บุรีรัมย์: มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.

ทิศนา แขมมณี. (2557). 14 วิธีสอนสำหรับครูมืออาชีพ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

________. (2560). ศาสตร์การสอน องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. (พิมพ์ครั้งที่ 21). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นนทวิทย์ ขาวกุญชร. (2563). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้การอาชีพโดยใช้รูปแบบการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์ ค.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

บุญรอด ชาติยานนท์. (2559). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ ในรายวิชา การปลูกพืชผักสวนครัว สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศิลปากร. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร, 9(3), 205-218.

บุปผา กัติยัง. (2556). ผลการใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทักษะปฏิบัติการทำขนมในท้องถิ่นสงขลาและความภาคภูมิใจในภูมิปัญญาท้องถิ่นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. สงขลา: มหาวิทยาลัยทักษิณ.

ภาณุพงศ์ รินทราช. (2561). การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบทักษะปฏิบัติตามแนวคิดของเดวีส์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะเรื่อง การตีโปงลางเบื้องต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์ ค.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

โรงเรียนสกลทวาปี. (2563). สารสนเทศโรงเรียนสกลทวาปี ประจำปีการศึกษา 2563. สกลนคร: โรงเรียนสกลทวาปี.

วรางคณา เวชพูล. (2559). การพัฒนาทักษะปฏิบัติโดยใช้รู้แบบการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ร่วมกับแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนแก่นนครวิทยาลัย. วิทยานิพนธ์ ค.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

วรีวรรณ โขนงนุช. (2550). การพัฒนาชุดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ เรื่อง การเขียนลายสังคโลกโดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเมืองเชลียง อําเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย. วิทยานิพนธ์ ค.ม. อุตรดิตถ์: มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์.

สมศักดิ์ เอี่ยมคงสี. (2561). การจัดการห้องเรียนในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: ทริปเพิ้ล เอ็ดดูเคชั่น.

สมาน เอกพิมพ์. (2560). การจัดการเรียนรู้ สิ่งแวดล้อมและการจัดการชั้นเรียนในศตวรรษที่ 21. มหาสารคาม: ตักศิลาการพิมพ์.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2559). สภาวะการศึกษาไทย ปี 2557/2558 จะปฏิรูปการศึกษาไทยให้ทันโลกในศตวรรษที่ 21 ได้อย่างไร. กรุงเทพฯ: พิมพ์ดีการพิมพ์ จำกัด.

สุวิทย์ พรหมหมวก. (2556). ผลการใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ (Davies) ที่มีต่อทักษะปฏิบัติการละเล่นในท้องถิ่นและความภาคภูมิใจในภูมิปัญญาท้องถิ่น กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. สงขลา: มหาวิทยาลัยทักษิณ.

ไสว ฟักขาว. (2542). หลักการสอนสำหรับการเป็นครูมืออาชีพ. กรุงเทพฯ: เอมพันธ์.

อนงค์ ทิวะสิงห์. (2554). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ตาแนวของเดวีส์ ที่มีต่อการเรียนทักษะปฏิบัติของนักเรียน เรื่อง การปลูกไม้ดอกไม้ประดับในภาชนะ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

อมรลักษณ์ สามใจ. (2558). ผลการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การวาดภาพระบายสีด้วยดินสอสี โดยใช้รูปแบบการฝึกทักษะการปฏิบัติตามแนวคิดของเดวีส์ สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. วิทยานิพนธ์ ค.ม. บุรีรัมย์: มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.