การจัดการเรียนรู้โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ร่วมกับเกมการแข่งขันสะกดคำวิชาภาษาไทย เพื่อพัฒนาทักษะการเขียนสะกดคำของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
Main Article Content
Abstract
The purposes of this research were to 1) develop learning management on the topic of the consonant rules using e-books with Thai spelling games for Pratomsuksa 4 students, 2) compare word-spelled writing skills on the consonant rules for Pratomsuksa 4 students before and after the intervention, and 3) compare Pratomsuksa 4 students’ word-spelled writing skills on the consonant rules after the intervention to the 70 percent criteria. The sample, obtained through purposive sampling, included 10 students in Pratomsuksa 4 studying at Wat Ban Mai School in the second semester of the academic year 2020. The research instruments were 1) an e-book on the topic of consonant rules, 2) nine lesson plans, and 3) a 30- item test on word-spelled writing skills with the reliability of 0.88. The research results were as follows 1) the developed learning management using e-books with Thai spelling games for Pratomsuksa 4 students had an efficiency at the highest level (= 4.73, S.D. = 0.16), word-spelled writing skills of Pratomsuksa 4 students before and after the intervention were at the 0.05 level of significance, and 3) The word-spelled writing skills of Pratomsuksa 4 students after the intervention were higher than the defined criterion of 70 percent at the .05 level of significance.
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความทุกบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ถือว่าเป็นลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
References
กระทรวงศึกษาธิการ, กรมวิชาการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.
จารุณี โพธิ์อ่อง. (2563). การพัฒนาชุดกิจกรรมการอ่านด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง มาตราตัวสะกด สำหรับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1. จันทบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฎรำไพพรรณี.
จุรีภรณ์ ปุยะพันธ์. (2558). การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การอ่านจับใจความสำคัญเพื่อส่งเสริมความสามารถในการอ่านจับใจความสำคัญสำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
พรวิมล เสาะใส. (2563). การพัฒนาชุดกิจกรรมการอ่านวิชาภาษาไทยด้วยนวัตกรรม Smart Learning เรื่อง มาตราตัวสะกด สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านขุนน้ำคับ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ.
ภควัธจ์ ภูมพงศ์คชศร. (2563). การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การใช้โปรแกรม Zappa Appication สำหรับการเรียนการสอนของครูระดับชั้นมัธยมศึกษาสู่มาตรฐานสากล. สมุทรปราการ: สถาบันเทคโนโลยีนวัตกรรมทางการศึกษาและการวิจัยแห่งสุวรรณภูมิ มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.
ยิ่งยศ เกตุจินดา. (2564). การพัฒนาการ์ดเกมความเป็นจริงเสริมวรรณคดี เรื่อง รามเกียรติ์ วิชาภาษาไทยสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
รัตนาวดี อัศวมานะศักดิ์. (2560). การพัฒนาบัตรความรู้โดยใช้เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม เรื่อง ทัศนธาตุ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
วาสนา ทวีกุลทรัพย์. (2564). ระบบการพัฒนาฐานความรู้ของเอกสารการสอนด้านเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา. นนทบุรี:มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ศิริพันธ์ เวชเตง. (2561). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้สมองเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะการอ่าน และการเขียนสะกดคำภาษาไทยสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. สงขลา: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี.
สุรางคนา ฤกษ์สมบูรณ์ดี. (2562). หลักสูตรและการสอนภาษาไทยระดับประถมศึกษาของโรงเรียนท้องถิ่นในภาคเหนือ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สรวลัย นันท์ชัย. (2564). แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการหลักสูตรสังคมศึกษา ของโรงเรียนกีฬาจังหวัดเชียงใหม่. พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.