การศึกษาความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาการบวกและการลบ โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาตามแนวคิดของโพลยาร่วมกับเทคนิคบาร์โมเดล สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

Main Article Content

Daranee Ketprakob
Somkid Intep
Annop Kaewkhao

Abstract

The objectives of this research were: 1) to compare students’ problem-solving abilities on Addition and Subtraction after learning through the developed instructional activities using Polya's conceptual problem-solving process with a bar model technique with a 60 percent criterion, and 2) to compare students’ learning achievement in solving problems on Addition and Subtraction after the intervention with a 60 percent criterion. The sample, obtained through cluster random sampling, consisted of 29 primary school students in Prathomsuksa 4/2 at Ban Praae School in the first semester of the academic year 2020. Research tools included lesson plans, a test of students’ abilities in solving problems, and a learning achievement test. The statistics for data analysis were mean, median and sign test. The results of this study were as follows: 1. after the intervention, students’ problem-solving abilities on Addition and Subtraction were 38.00 points, which were significantly higher than the 60 percent criterion at the .05 level of significance. 2. after the intervention, students’learning achievement scores in the topic of addition and subtraction problem solving were 14.00 points, which were significantly higher than the 60 percent criterion at the .05 level of significance.

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

กรองทอง ไคริรี. (2554). แบบฝึกการฝึกซ้อมหลักสูตรโดยใช้บาร์โมเดลชั้นเรียนปีที่ 4. กรุงเทพฯ: เอทีมบิสซิเนส.

ธนาวีย์รัต คุปตวุฒินันท์. (2558). การศึกษาความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง บทประยุกต์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้รูปแบบ SSCS ร่วมกับเทคนิค Bar Model. วิทยานิพนธ์. วท.ม. นครราชสีมา: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.

นวลฤทัย ลาพาแว. (2558). การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามกระบวนการแก้โจทย์ปัญหาของโพลยาร่วมกับเทคนิคการวาดรูปบาร์โมเดล สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2. วิทยานิพนธ์ ค.ม. เชียงราย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.

นิรัชรา ชัยชนะอุดมกุล. (2556). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดการแก้ปัญหาของโพลยาเพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ ค.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

ไพศาล วรคำ. (2559). การวิจัยทางการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 8). มหาสารคาม: ตักศิลาการพิมพ์.

โรงเรียนบ้านพระแอะ. (2561). รายงานการปฏิบัติงานประจําปีของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2561. กระบี่: โรงเรียนบ้านพระแอะ.

ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. (2539). เทคนิคการวัดผลการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

_______. (2541). เทคนิคการสร้างและสอบ ข้อสอบความถนัดทางการเรียนและความสามารถทั่วไป. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

ศรันย์ เปรมปรีดา. (2557). การพัฒนาชุดฝึกทักษะในการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ด้วยทฤษฎีบาร์โมเดลสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. วิทยานิพนธ์ ค.ม. ธนบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2553). เอกสารสำหรับผู้รับการอบรมครูผู้สอนคณิตศาสตร์ที่เน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6. กรุงเทพฯ: องค์การค้าของ สกสค.

สุวิทย์ อรรคฮาต. (2553). การพัฒนาความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยวิธีการสอนแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ของโพลยา. วิทยานิพนธ์ ค.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.

อรทัย ทองน้อย. (2553). การพัฒนากิจกรรมการแก้โจทย์ปัญหา ตามขั้นตอนของโพลยาโดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือ เรื่อง บทประยุกต์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วิทยานิพนธ์ ค.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.