จิตลักษณะและสถานการณ์ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมใฝ่เรียนใฝ่รู้ของนิสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน
Main Article Content
Abstract
The objectives of this research were: 1) to examine the relationship between psychological and situational characteristics and inquiry learning behaviors of students at Kasetsart University, Kamphaeng Saen Campus; and 2) to identify the psychological characteristics and situations affecting students’ inquiry learning behaviors. The samples were 390 undergraduate students studying at Kasetsart University, Kamphaeng Saen Campus. The research tool for data collection was a set of questionnaires with the discriminative power from 0.33 to 0.72, and the Cronbach’s Alpha Coefficient from 0.842 to 0.964. The statistics for data analysis were mean, percentage, Pearson’s product-moment correlation coefficient, and Stepwise multiple regression analysis. The results of the research revealed that: 1. the relationship between psychological characteristics and situations of undergraduate students at Kasetsart University, Kamphaeng Saen Campus was positively and significantly correlated with all variables of students’ inquiry learning behaviors. 2. Regarding the perceived psychological characteristics and situations, there were five variables that could significantly predict students’ inquiry learning behaviors, namely the psychological variables: future oriented and self-control of study, positive attitudes toward inquiry learning behaviors, achievement motivation, and good mental health, and the situational variable: social support from surrounding people and family members.
Article Details
บทความทุกบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ถือว่าเป็นลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
References
กัลยา วินิชย์บัญชา และฐาตา วานิชย์บัญชา. (2561). การใช้ SPSS for Windows ในการวิเคราะห์ข้อมูล. กรุงเทพฯ: ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2540). ลักษณะชีวิตสู่ความสำเร็จ 1. (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: ซักเซสมีเดีย.
งานมาตรฐานคุณภาพการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ. (2555). แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่สิบเอ็ด. เข้าได้ถึงจาก https://www.pld.rmutt.ac.th/?wpfb_dl=210. 4 กันยายน 2563.
น้ำเพชร สุขเพ็ง. (2558). จิตลักษณะความมุ่งอนาคตควบคุมตน ความเชื่ออำนาจในตน ทัศนคติที่ดีต่อการทำงาน และพฤติกรรมการทำงานตามค่านิยม 12 ประการในข้าราชการทหาร. HROD Journal, 7(1), 4-17.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2559). ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ. เข้าได้ถึงจาก www.ku.ac.th/th/philosophy-vision -mission. 13 ตุลาคม 2559.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2562). นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562. เข้าได้ถึงจาก https://www.obec.go.th/wp-content/uploads/2018/10/OB ECPolicy62.pdf. 2 กันยายน 2563.
อนันต์ แย้มเยื้อน. (2559). ปัจจัยเชิงเหตุแบบบูรณาการทางจิตพอเพียง จิตลักษณะ สถานการณ์ กับพฤติกรรมรักษ์สิ่งแวดล้อมของเยาวชนในชุมชน. วารสารวิชากา มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี, 5(2), 92-104.
อารี พันธ์มณี. (2546). จิตวิทยาสร้างสรรค์การเรียนการสอน. กรุงเทพฯ: ใยไหมเอดดิเคท.
อุดมศักดิ์ พลอยบุตร. (2544). หัวใจปฏิรูปการศึกษา. สงขลา: สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.