การจัดการหลักสูตรการเรียนรู้ในสถานการณ์วิกฤติของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครปฐม เขต 9 : กรณีศึกษา สถานการณ์โควิด 19

Main Article Content

Eakasit Phosai

Abstract

The objectives of this research were to examine: 1) the efficiency of the learning curriculum management, 2) the competencies of school administrators, 3) the relationship between school administrators’ competencies and the efficiency of the learning curriculum management in a crisis situation, and 4) guidelines for developing the learning curriculum management in a crisis situation of school administrators under Nakhon Pathom Secondary Educational Service Office 9. The research employed both qualitative and quantitative research methods. The key informants for qualitative data were 15 school administrators from Nakhon Pathom Secondary Educational Service Office 9, selected through purposive random sampling and snowball methods. The collected data was drawn from in-depth interviews. While the sample group for quantitative data collection, obtained through multistage random sampling, consisted of 400 teachers in secondary schools, using the questionnaire with the reliability of 0.875. Quantitative data was analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation, and Pearson correlations, whereas qualitative data was analyzed using descriptive analysis. The results showed that: 1. The efficiency of the learning curriculum management was at a high level ( = 4.09). 2. The competencies of school administrators were at a high level ( = 4.29). 3. The relationship between the competencies of school administrators and the efficiency of the learning curriculum management was positively at a high level with r = 0.759. 4. Guidelines for developing the learning curriculum management revealed that school operations should involve a risk evaluation and a risk analysis. The total quality management (TQM), and Deming cycle should also be implemented.

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

กรุงเทพธุรกิจ. (2563). ครม. ไฟเขียว เลื่อนเปิดเทอม เป็นวันที่ 1 ก.ค. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/874861. 28 พฤศจิกายน 2563.

จุมพล สวัสดิยากร. (2520). หลักและวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ: สุวรรณภูมิ.

ฉวีวรรณ ฉัตรวิไล. (2560). สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการดำเนินการตามมาตรฐานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษาในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6 จังหวัดฉะเชิงเทรา. วิทยานิพนธ์ ค.ม. ฉะเชิงเทรา: มหาวิทยาลัยราชภัฎราชนครินทร์.

ทองทิพย์ มนตรี. (2558). การบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 16. เอกสารนำเสนอในที่ประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ ประจำปี 2558. สงขลา.

นุชนรา รัตนศิระประภา. (2557). สมรรถนะของผู้บริหารที่ส่งผลต่อคุณลักษณะโรงเรียนมาตรฐานสากลสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal, 7(3), 507–528.

บรรลุ ชินน้ำพอง. (2556). สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียนสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น. วารสารศึกษาศาสตร์ ฉบับวิจัยบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 7(1), 92-103.

ปราณี สังขะตะวรรธน์ และ ธวัชชัย ชัยจิรฉายากุล. (2553). สัมมนาหลักสูตรและการจัดการการเรียนรู้ระดับปฐมวัยศึกษา. นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

โรงเรียนสาธิตพัฒนา. (2563). ระดับมัธยมศึกษา. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก https://satitpattana.ac.th/web/secondary1.php. 30 ธันวาคม 2563.

วิรุฬ เกิดภักดี. (2551). การศึกษาการบริหารหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์ ศษ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สุกัญญา จัตุรงค์. (2559). การบริหารหลักสูตรที่ส่งผลต่อคุณภาพของผู้เรียนโรงเรียนสังกัดสำนักบริหารงาน การศึกษาพิเศษภาคใต้กลุ่ม 7. วาสารวิชาการฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์และศิลปะ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 9(1), 1473–1487.

เสาวนีย์ นวลน้อย. (2560). การบริหารหลักสูตรในโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 และ เขต 2. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต.

สัมมา รธนิธย์. (2554). การวิเคราะห์องค์ประกอบภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏที่มีผลต่อประสิทธิผลการบริหารมหาวิทยาลัย. วิทยานิพนธ์ ค.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2550). หลักสูตรการพัฒนาสถานศึกษาทั่วประเทศ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ทองกมล จำกัด.

อรรถพล อนันตวรสกุล. (2563). เมื่อเกิดความเปลี่ยนแปลงของโลกการศึกษาจากวิกฤติ โควิด-19 แล้วอนาคตทางการศึกษาจะเป็นอย่างไรต่อไป. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก https://www.aksorn.com/learningviaonline. 5 ตุลาคม 2563.

อรอุมา เจริญสุข. (2560). แนวทางการพัฒนาและบริหารหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานแนวใหม่. วารสารวิธีวิทยาการวิจัย, 28(1), 75-94.

อมรรัตน์ จินดา. (2558). สภาพปัญหาและแนวทางการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษาสำหรับสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษานครปฐม เขต 2. การค้นคว้าอิสระ ศษ.ม. นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

Beauchamp. (1981). Curriculum Theory. (4th ed). Itasca Illinois: F. E. Peacock Publishers.

Long. (2001). Seven Needless Sins of Crisis (Mis) management. PR Tactics, August, p. 14.

Siomkos. (1999). On achieving exoneration after a product safety industrial crisis. Journal of Business and Industrial Marketing, 14(1), 17–29.

Taba, H. (1962). Curriculum Development Theory and Practice. New York: Harcourt, Brace and World.

Yamane, Taro. (1973). Statistics: An Introductory Analysis. (3rd ed). New York: Harper and Row Publication.