การพัฒนาคู่มือการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐาน (CBL) ร่วมกับ Bar Model เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ การแก้โจทย์ปัญหา และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
Main Article Content
Abstract
The purposes of this research were: 1) to develop the mathematics learning manual using Creativity-Based Learning (CBL) and Bar Model for Prathomsuksa 6 students to meet the effectiveness index of at least 0.50, 2) to compare students’ creative thinking, 3) to compare students’ problem solving, 4) to compare students’ learning achievement gained before and after learning through the developed manual, and 5) to compare creative thinking, problem solving, and learning achievement of students with different emotional intelligence of high, moderate and low levels before and after the intervention. The sample group, obtained through cluster random sampling using a classroom as the sampling unit, consisted of 22 Prathomsuksa 6 students studying at Ban Khamnangoke School under Mukdahan Primary Educational Service Area Office. The research instruments were: 1) constructed mathematics learning manuals, 2) a creative thinking test, 3) a problem-solving test, 4) a learning achievement test, and 5) an emotional intelligence test. Statistics for data analysis comprised percentage, mean, standard deviation, t–test for Dependent Samples, One–Way ANOVA, One–Way MANCOVA, and One–Way ANCOVA. The study revealed that: 1. The developed mathematics learning manual using creativity-based learning (CBL) and Bar Model to enhance Prathomsuksa 6 students’ creative thinking, problem solving and learning achievement reached the effectiveness index of 0.39, 0.61, 0.59, respectively with a total mean score of 0.54, which was higher than the defined criteria of 0.50. 2. Students’ creative thinking after learning through the developed mathematics learning manual was higher than that of before at the .05 level of significance. 3. Students’ problem solving after learning through the developed mathematics learning manual was higher than that of before at the .05 level of significance. 4. Students’ learning achievement after learning through the developed mathematics learning manual was higher than that of before at the .05 level of significance. 5. Students with different emotional intelligence at high, moderate and low levels after the intervention reported different levels of creative thinking, problem solving, and learning achievement at the .05 level of significance.
Article Details
บทความทุกบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ถือว่าเป็นลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
References
กรองทอง ไคริรี และฉวีวรรณ แก้วไทรฮะ. (2554). คู่มือครูการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์โดยใช้รูปบาร์โมเดล (Bar Model) ชั้น ป.4. กรุงเทพฯ: เอ ทีม บิสซิเนส.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
________. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
แจ่มจันทร์ พลศรีดา. (2556). การพัฒนาคู่มือการเรียนรู้โดยใช้ผังกราฟิกร่วมกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่ส่งผลต่อการคิดวิเคราะห์ความรับผิดชอบและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสาระการเรียนรู้ภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. ปริญญานิพนธ์ ค.ม. สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
ชูศรี วงศ์รัตนะ. (2553). เทคนิคการใช้สถิติเพื่อการวิจัย. (พิมพ์ครั้งที่ 12). นนทบุรี: ไทเนรมิตกิตอินเตอร์โปรเกรสซิฟ จำกัด.
ณัฐวลัญช์ เข็มทอง. (2559). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวของการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดของโพลยาโดยใช้เทคนิค Bar Model. วิทยานิพนธ์. ศศ.ม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ทัศนีย์ เกตุจันต๊ะ. (2557). การพัฒนาทักษะการแก้โจทย์ปัญหาการบวกและลบโดยใช้รูปแบบบาร์โมเดล สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/2. เชียงราย: โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 15 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3.
บุญชม ศรีสะอาด. (2554). การวิจัยเบื้องต้น ฉบับปรับปรุงใหม่. (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
________. (2553). การวิจัยเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
ประพันธ์ศิริ สุเสารัจ. (2556). การพัฒนาการคิด. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัด 9119 เทคนิค พริ้นติ้ง.
เผชิญ กิจระการ. (2550). การวิเคราะห์ประสิทธิภาพสื่อและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ไพลิน แก้วดก และทัศน์ศิรินทร์ สว่างบุญ. (2562). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยการใช้การสอนแบบสร้างสรรค์เป็นฐาน: การวิจัยผสานวิธี. วารสารการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 25(1), 206-224.
มนต์ชัย เทียนทอง. (2556). การออกแบบและพัฒนาคอร์สแวร์สําหรับบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. (2539). เทคนิคการวัดผลการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
_______. (2543). เทคนิคการวัดผลการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์. (2545). เอกสารประกอบการสอนวิชา 0506703 พัฒนาการเรียนการสอน. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
วิริยะ ฤาชัยพาณิชย์ และกิจวัฒน์ จันทร์ดี. (2556). สอนอย่างไรให้ผู้เรียนมีทักษะแห่งอนาคต ในคู่มือการออกแบบการสอนในศตวรรษที่ 21 สอนสร้างสรรค์ คอลัมน์ Education Ideas ประชาชาติธุรกิจ. เข้าถึงได้จาก Facebook.com/ajWiriya. 17 มิถุนายน 2561.
ศรันย์ เปรมปรีดา. (2559). การพัฒนาชุดฝึกทักษะในการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ด้วยทฤษฎีบาร์โมเดล สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. ปริญญานิพนธ์ ค.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.
ศศิมา เชียงแสน. (2561). การพัฒนาชุดการสอนแบบสืบเสาะร่วมกับการเรียนรู้แบบไตรสิกขา ที่ส่งผลต่อความมีวินัยในตนเองความสามารถในการแก้ปัญหา และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศกษาปีที่ 6. ปริญญานิพนธ์ ค.ม. สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2550). ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
_______. (2551). คู่มือครูสาระการเรียนรู้พื้นฐานคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
สิริพร ทิพย์คง. (2558). Mathematical Problem Solving. เข้าถึงได้จาก https://www. facebook.com /mathsolv/posts/ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์-ตอน-1-การแก้ปัญหา-problem-Solving สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 30 ธันวาคม 2561.
สิริพัชร์ เจษฎาวิโรจน์. (2560). กระบวนการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐานในกระบวนวิชา CEE2205 (ความคิดสร้างสรรค์สำหรับเด็ก). วารสารศึกษาศาสตร์ปริทัศน์, 32(2), 1-9.
สมนึก ภัททิยธนี. (2553). วิธีการทางสถิติสำหรับการวิจัย. กาฬสินธุ์: ประสานการพิมพ์.
สมบัติ ท้ายเรือคำ. (2553). วิธีการทางสถิติสำหรับการวิจัย. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สุพัตรา เส็งเอี่ยม. (2552). การพัฒนาแบบฝึกทักษะการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ตามแนวคิดของโพลยาและเทคนิคการวาดรูป
บาร์โมเดล เรื่องการบวก ลบ คูณ และหาร กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. เชียงใหม่: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
สุรัชน์ อินทสังข์. (2558). การสอนแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้บาร์โมเดล (Bar Model). นิตยสาร สสวท, 43(194), 27-30.
อัมพร เลิศณรงค์. (2559). การพัฒนารูปแบบการเรียนภาษาไทยโดยใช้ความคิดสร้างสรรค์เป็นฐาน เรื่อง การเขียน สำหรับ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 17(1), 100-109.
อาภันตรา แสงวงศ์. (2557). การพัฒนาคู่มือการจัดการเรียนรู้แบบ 4MAT ร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบซิปปา ที่มีผลต่อการคิดวิเคราะห์ ความคิดรวบยอด และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ ค.ม. สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
อิมรอน ขวัญคาวิน (2559). การพัฒนาชุดการเรียนรู้ เรื่องโจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หาร ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4 โดยใช้เทคนิค KWDL ร่วมกับการวาดรูปบาร์. การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติ และนานาชาติ ครั้งที่ 7 ณ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ วันที่ 23 มิถุนายน 2559.