ความคิดเห็นของครูเกี่ยวกับภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาในกลุ่มโรงเรียนเครือข่ายที่ 47 สังกัดสำนักงานเขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร

Main Article Content

Nimnapa Onputta
Amnuay Thongprong

Abstract

The objectives of this research were to examine and compare teachers' opinions on ethical leadership among school administrators in School Network Group 47 under Suan Luang District Office, Bangkok Metropolis, classified by education level and work experience. The sample of this research included teachers, obtained through stratified random sampling, from eight selected schools in School Network Group 47 under Suan Luang District Office, Bangkok Metropolis. The instrument was a set of 5-rating scale questionnaires with the discriminative power from .615 to .905 and the reliability of .987. The statistics for data collection were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test for Independent Samples, One-Way ANOVA, and Scheffe method. The results of this research revealed as follows: 1. The teachers’opinions about ethical leadership of school administrators in schools of School Network Group 47 under Suan Luang District Office, Bangkok Metropolis were at a high level. 2. The teachers with different education levels had indifferent opinions about ethical leadership for both overall and individual aspects. 3. The teachers with different work experience had indifferent opinions about ethical leadership of school administrators in schools of School Network Group 47 under Suan Luang District Office, Bangkok Metropolis for both overall and individual aspects. However, in term of being service providers, there were statistically significant differences at the .05 level. When a pairwise comparison was undertaken with Scheffe’s post hoc comparison on each pair, the only significant difference was found. The teachers with over 10 years of work experience expressed higher level of opinions on the ethical leadership of school administrators than those with less than 5 years of work experience.

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

กนกวรรณ บุญเรือง. (2560). ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3. วารสารฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์และศิลปะ, 10(10), 1409-1426.

ณัฐริดา นิพนธ์. (2563). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมกับบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียนในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 1. วารสารมหาจุฬานาครรทรรศน์, 7(5), 158-171.

ดวงฤดี ศิริพันธุ์. (2556). ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครูโรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนาสังกัดสำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดสงขลา. ในการประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 9 (หน้า 1160-1173). สงขลา: มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.

ทรงศักดิ์ ภูสีอ่อน. (2556). โมเดลความสัมพันธ์โครงสร้างปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. ในโครงการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา ครั้งที่ 13 (หน้า 114-127). ขอนแก่น: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ธนิกา กรีธาพล. (2562). รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 1-7. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี, 13(2), 214-225.

ภาวิดา ธาราศรีสุทธิ. (2542). หลักและทฤษฎีการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ภัทรินญา เดชาวัตธนโชติ. (2563). แนวทางการสร้างภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35. วารสารวิชาการมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์, 7(1), 71-89.

รัตนา กาญจนพันธุ์. (2560). การพัฒนาภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหาร. วารสารดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์, 7(3), 17-25.

รัตติกรณ์ จงวิศาล. (2556). ภาวะผู้นำ : ทฤษฎีการวิจัยและแนวทางสู่การพัฒนา = LEADERSHIP Theories, Research, and Approaches to Development. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุกัญญา รอดระกา. (2561). บาทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในยุคไทยแลนด์ 4.0. ในการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 2 โดยมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา “GRADUATE SCHOOL CONFERENCE 2018” (หน้า 575-579). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

สุทธิพงษ์ ทะกอง. (2561). ตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน : โมเดลความสัมพันธ์เชิงโครงสร้าง. วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม, 8(1), 49-58.

สุพัตรา สิทธิคงตั้ง. (2563). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารกับความผูกพันในองค์กรของครูโรงเรียนคริสเตียน สังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทยเขตจังหวัดเชียงราย–เชียงใหม่. วารสารสังคมวิชาการ, 13(1), 178-193.

สุรัตน์ ไชยชมพภู. (2557). ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมในการบริหารสถานศึกษา. วารสารการบริหารการศึกษา, 8(2), 1-15.

สมชาย วรกิจเกษมสกุล (2554). ระเบียบวิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. อุดรธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.

สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา. (2550). มาตรฐานตำแหน่งและมาตรฐานวิทยฐานะของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา.

หนูไกร มาเซค. (2559). การพัฒนาภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมในผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วิทยานิพนธ์ ปร.ด. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

หงษา วงจำปา. (2559). รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์ ปร.ด. สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

Creative Research Systems. (1982). Sample Size Calculator. Retrieved from https://www.surveysystem.com/sscalc.htm. Octorber 10th, 2020.