ศึกษาผลการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชาชีววิทยา หน่วยนิเวศวิทยา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย มุกดาหาร โดยใช้ชุดกิจกรรมในการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E)

Main Article Content

อาภรทิพย์ ศรีประเสริฐ
เจริญวิชญ์ สมพงษ์ธรรม
วรรณกร ศรีรอด
ประสิทธิ์ นิ่มจินดา

Abstract

The purposes of the research were: 1) to investigate the learning outcomes of Mathayomsuksa 6 students on a learning area of science, a Biology course from Ecology Unit, using activity packages based on the inquiry process (5E) method at Princess Chulabhorn Science High School Mukdahan, namely learning achievement, science process skills, group work skills, discipline, and satisfaction toward learning, 2) to compare the students’ learning achievement of Mathayomsuksa 6 before and after the intervention. A total of 24 Mathayomsuksa 6 students, who were studying in the second semester of academic year 2019 at Princess Chulabhorn Science High School Mukdahan, were selected by cluster random sampling using a class unit selection for one classroom. The research instruments included the learning plans, seven of the activity packages based on 5E inquiry learning, an achievement test, an assessment test of science process skills, an assessment form of group work skills, and an assessment form of discipline, and attitude evaluation forms. The data analysis was done through percentage, mean, standard deviation, t-test.


            The results revealed that:


  1. The learning achievement of students using the activity packages based on the Inquiry process (5E) method was higher than the criteria of 60 percent.

  2. The students who learnt through the activity packages based on the inquiry process (5E) method improved science process skills, at rate higher than the criteria of 60 percent.

  3. The students who learnt through the activity packages based on the inquiry process (5E) method gained group process skills, at rate higher than the criteria of 60 percent.

  4. The students who learnt through the activity packages based on the inquiry process (5E) had discipline, at rate higher than the criteria of 60 percent.

  5. The students’ attitude toward learning through the activity packages based on the inquiry process (5E) method as a whole was at high level.

        6. The learning achievement of Mathayomsuksa 6 students after the intervention was higher than that                  of before the intervention at a statistical significance of .05 level.

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

คำศักดิ์ พิชญานุรัตน์. (2551). การพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการสอนรูปแบบ สืบเสาะหาความรู้. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น

จิรัชยา วงค์ราษฎร์. (2561). ผลสัมฤทธิ์จากการใช้ชุดกิจกรรม เรื่อง หน่วยและการเปลี่ยนหน่วย โดยใช้ชุดกิจกรรมแบบสืบเสาะ หาความรู้ (5E) สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาที่ 4 โรงเรียนพะเยาพิทยาคม. รายงานการวิจัยในชั้นเรียน, โรงเรียนพะเยาพิทยาคม.

ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. (2552). นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ. กรุงเทพฯ: แดแน็กซ์ อินเตอร์คอร์ปอเรชั่น จำกัด.

ทิศนา แขมมณี. (2560). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. (พิมพ์ครั้งที่ 21). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2557). การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS และ AMOS. (พิมพ์ครั้งที่ 15). กรุงเทพฯ: ห้างหุ้น ส่วนสามัญบิสซิเนสอาร์แอนด์ดี.

นิกรณ์ นิลพงษ์. (2555). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ตามวัฏจักรการเรียนรู้แบบ 5E เรื่อง เครื่องกล. วิทยานิพนธ์ วท.ม. อุบลราชธานี: มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.

ยุพา กุมภาว์. (2550). ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการ สอนโดยใช้รูปแบบการสืบเสาะหาความรู้. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

สมนึก ภัททิยธนี. (2549). การวัดผลการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กาฬสินธุ์: ประสานการพิมพ์.

สมโภชน์ อเนกสุข. (2559). การวิจัยทางการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 8). ชลบุรี: ภาควิชาวิจัยและวัดผลการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.

Cronbach, L. J. (1984). Essential of psychology testing. New York: Harper.