ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ต่อความสามารถในการแก้ปัญหาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
Main Article Content
Abstract
The purposes of this research were to examine and compare the ability to solve mathematics problems and learning achievement of the students who learned through the problem-based learning management and the students who learned through the conventional learning management, to compare the effects after the implementation of the problem-based learning management with a criterion of 75 percent. The sample groups consisted of Mathayomsuksa 2 students, selected by cluster random sampling. The research instruments were the problem-based learning and conventional learning lesson plans, the ability to solve mathematics problems test with a reliability of 0.89, and the mathematics learning achievement test with a reliability of 0.90. The data was analyzed by means, standard deviation, percentage, One-way MANCOVA and One-sample t-test.
The results of the research showed that the students learning by using problem-based learning and the students learning by using conventional learning improved the ability to solve mathematics problems before the intervention at a mean score of 35.88 percent and 35.26 percent respectively, while the mean score after the intervention increased 80.07 percent and 70.06percent respectively. The students’ mean scores of mathematics learning achievement were 45.14 percent and 44.36 percent respectively, while the average scores increased by 80.36 percent and 68.63 percent respectively. When testing the differences between the groups, students who learned through problem-based learning management had higher ability of mathematics problems solving and mathematics learning achievement than students who learned through conventional learning management. The ability of math problems solving and mathematics learning achievement of students were above the threshold of 75 percent.
Article Details
บทความทุกบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ถือว่าเป็นลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2550). การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน. กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา สำนักมาตรฐานและพัฒนาการเรียนรู้ กลุ่มส่งเสริมนวัตกรรมการเรียนรู้ของครูและบุคลากรทางการศึกษา.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธสักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560). กรุงเทพฯ: สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.
จริยา กองคำ. (2560). ผลของการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานเสริมด้วยแบบฝึกทักษะที่เน้นกลวิธี STAR ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ ค.ม. อุดรธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.
ทิศนา แขมมณี. (2557). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดการะบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. (พิมพ์ครั้งที่ 18). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นฤนาท จั่นกล้า. (2559). การศึกษาความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักศึกษาเอกคณิตศาสตร์ โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน. วิทยานิพนธ์ ค.ม. พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.
ปนัดดา ปิยะวรากร. (2559). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชันชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้การเรียนรู้การใช้ปัญหาเป็นฐานที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การคิดวิเคราะห์และความพึงพอใจต่อการเรียนรู้คณิตศาสตร์. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ประพันธ์ศิริ สุเสารัจ. (2551). การพัฒนาการคิด. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ประริชาติ สิทธิสาร. (2558). การเปรียบเทียบความเข้าใจมโนคติ สารชีวโมเลกุล และความสามารถในการแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่เรียนโดยการเรียนแบบใช้ปัญหาเป็นฐานเสริมด้วยเทคนิคผังกราฟิกกับการเรียนปกติ. วิทยานิพนธ์ ค.ม. อุดรธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.
ผุสดี กล่อมวงษ์. (2558). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานที่มีต่อทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ด้านการแก้ปัญหาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ความน่าจะเป็น ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.
พรรณี ชูทัย เจนจิต. (2550). จิตวิทยาการเรียนการสอน. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: ต้นอ้อแกรมมี่.
มัณฑนา พรมรักษ์. (2556). ผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้โมเดลการแก้ปัญหาที่เน้นกระบวนการกำกับทางปัญญาที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์และความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วิทยานิพนธ์ ค.ม. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วิไล โพธิ์ชื่น. (2555). การพัฒนาความสามารถในการคิดแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่จัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2560). ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์. กรุงเทพฯ: ส.เจริญการพิมพ์.
สมประสงค์ วังหอม. (2558). การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานที่มีต่อความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เรื่อง ระบบสมการเชิงเส้น. วิทยานิพนธ์ วท.ม. อุบลราชธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.
สุคนธ์ สินธพานนท์. (2558). การจัดการเรียนรู้ของครูยุคใหม่เพื่อพัฒนาทักษะผู้เรียน. กรุงเทพฯ: 9119 เทคนิคพริ้นติ้ง.
สุดารัตน์ นวมอุ่น. (2557). การศึกษาผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์และความสามารถในการเผชิญอุปสรรค ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. วิทยานิพนธ์ ค.ม. พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.
อรธิดา ประสาร. (2559). การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานสำหรับนักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, 30(2), 24-26.
อัมพร ม้าคนอง. (2546). คณิตศาสตร์ : การสอนและการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Barell, J. (1998). PBL an Inquiry Approach. Illinois: Skylight Training and Publishing Inc.
Elshafei, D. L. (2007). A comparison of problem-based and traditional learning in algebra II. Retrieved from http://thailis.uni.net.th/dao/detail.nsp. June 16th, 2019.
Gallagher, S. A. (1997). Problem - Based Learning: Where did it come from, What does it do, and Where is it going?. Journal for the Education of the Gifted, 20(4), 332–362.
Greenwald, N. L. (2000). Leaning from Problem. The Science Teacher, 67(4), 28–32.
White, H. B. (1996). Dan tries problem-based learning: A case study. Retrieved from http://www.udel.edu./pbl/dancease3.html. Retrieved, June 2ed, 2013.