การพัฒนาตัวบ่งชี้การบริหารงานบุคคลโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23

Main Article Content

ศราวุธ สายตา
พรเทพ เสถียรนพเก้า
วาโร เพ็งสวัสดิ์

Abstract

This research aimed to develop indicators of personnel administration in secondary schools and examine the consistency of the structure model of personnel administration indicators in secondary schools with the empirical data. The research was divided into two phases: Phase 1- Development of indicators of personnel administration in secondary schools through an analysis of document and related research, and Phase 2-Validation of the structural model of indicators of personnel administration in secondary schools through Confirmatory Factor Analysis (CFA). The data were collected from a sample of 400 administrators and teachers from secondary schools under the Secondary Educational Service Area Office 23 in the academic year 2019, selected through stratified random sampling. The research instrument was a set of 5-point scale questionnaires with a content validity between 0.60 and 1.00, the discriminative power between 0.36 and 0.78 and a reliability of 0.98. The statistics for analyzing the confirmed components was completed by using statistical software packages.


         The results were as follows:


         1. The indicators of personnel administration consisted of six key components with 25 subcomponents, and 116 indicators, including 20 indicators in workforce planning, 25 indicators in recruitment and appointment, 11 indicators in human resource development, 18 indicators in performance evaluation, 19 indicators in discipline and maintenance of discipline, and 23 indicators in retirement.


          2. The structural model of indicators of personnel administration in secondary school had a consistency with the empirical data which could be observed from the statistical values as follows: Chi-square = 100.97, degree of freedom (df) = 102, p = 0.51, goodness-of-fit index (GFI) = 0.98, adjusted goodness-of-fit index (AGFI) = 0.94, root mean square error of approximation (RMSEA) = 0.000, Critical N (CN) = 560.26, factor loading of 116 indicators = 0.40-0.77, with the statistical significance of 0.01 level.

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2550). ราชกิจจานุเบกษา ฉบับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. (เล่มที่ 124). ตอนที่ 24 ก หน้า 29 (16 พฤษภาคม).

จารุภัทร บุญส่ง. (2556). การพัฒนาตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำทางการสอนของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์ ค.ด. สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชฏักสกลนคร.

ประจักษ์ เกตุสุวรรณ. (2552). สภาพและปัญหาการบริหารงานบุคคลในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ปารวี เจริญยศ. (2555). การพัฒนาตัวบ่งชี้ความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียนในกลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 2. วิทยานิพนธ์ ค.ด. สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชฏักสกลนคร.

นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2548). สถิติชวนใช้. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นงลักษณ์ วิรัชชัย, ศจีมาศ ณ วิเชียร และพิสมัย อรทัย. (2551). การวิจัยและพัฒนาตัวบ่งชี้คุณธรรมจริยธรรม. กรุงเทพฯ: ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาแผ่นดินเชิงคุณธรรม.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23. (2560). แผนพัฒนาการศึกษา สพม.เขต 23 ระยะ 5 ปี 2560-2564. สกลนคร: สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2556). คู่มือการบริหารงานโรงเรียนในโครงการพัฒนาการบริหารรูปแบบนิติบุคคล. กรุงเทพฯ: กลุ่มวิจัยและพัฒนานโยบาย สำนักนโยบายและแผนการศึกษาขั้นพื้นฐาน.

. (2560). มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา พ.ศ.2552 (ปรับปรุง พ.ศ. 2560). กรุงเทพฯ: สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย.

สุเทพ ปาลสาร. (2555). การพัฒนาตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วิทยานิพนธ์ ปร.ด. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

สุภมาส อังศุโชติ, สมถวิล วิจิตรวรรณา และรัชนีกูล ภิญญานุวัฒน์. (2551). สถิติการวิเคราะห์สำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์: เทคนิคการใช้โปรแกรม LISREL. กรุงเทพฯ: มิสชั่นมีเดีย.

สุวิมล ติรกานันท์. (2550). การใช้สถิติในการวิจัยทางสังคมศาสตร์: แนวทางสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุวิมล สุริยะ. (2556). การบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.