ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 2

Main Article Content

พรสุดา ชูพันธ์
วิโรฒน์ ชมภู
ประยูร อิ่มสวาสดิ์

Abstract

The purposes of the research were to examine factors affecting transformational leadership of school administrators under Chonburi Primary Educational Service Area Office 2. The sample, obtained through stratified random sampling, consisted of 297 teachers working in schools under Chonburi Primary Educational Service Area Office 2. The sample size was determined based on the table of Krejcie & Morgan. The research instruments were a set of questionnaires and interview forms. Statistics for data analysis were mean scores (), standard deviations (S.D.), Pearson’s product moment correlation, and Stepwise multiple regression analysis.


            The findings were as follows:


  1. The factors in terms of personality, organizational climate, and achievement motivation of school administrators under Chonburi Primary Educational Service Area Office 2 in overall and each aspect were at a high level.

  2. The transformational leadership of school administrators under Chonburi Primary Educational Service Area Office 2 in overall and each aspect was at a high level.

  3. The factors in terms of personality, organizational climate, and achievement motivation had a relationship with transformation leadership of school administrators with a statistically significance of .01 level.

  4. The factors in terms of personality, organizational climate, and achievement motivation of school administrators affected their transformational leadership with a statistical significance of .05 level.

  5. The equations of transformational leadership of school administrators under Chonburi Primary Educational Service Area Office 2, consisted of Autonomous Climate (X7), Need for Affiliation (X13), Need for Power (X14), Agreeableness (X4), Need for Achievement (X12), Closed Climate (X11), and Conscientiousness (X5), could predict school administrators’ transformational leadership at 81.40 percent. The regression equations could be written as the following equations:

                 The regression equation of raw scores could be summarized as follows:


                      gif.latex?\hat{Y} = .451 + .235(X7) + .112(X13) + .143(X14) + .161(X4) + .096(X12) + .056(X11) + .080(X5)


                 And the regression equation of standardized scores could be written as follows:


                     gif.latex?\hat{Z}  = .323(X7) + .139(X13) + .154(X14) + .268(X4) + .096(X12) + .076(X11) + .085(X5)

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

เกษินี เอกสาตรา. (2551). ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์การรับรู้การพัฒนาบุคลากรกับสมรรถนะของผู้ตรวจการพยาบาลนอกเวลาราชการโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหม. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

ณัฐวุฒิ เตมียสุวรรณ. (2550). ปัจจัยบางประการที่ส่งผลต่อภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารตัวแทนบริษัท เมืองไทยประกันชีวิต จำกัด ในเขตกรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ดวงดาว แสงจันทร์. (2553). ศึกษาแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ของพนักงาน บริษัท แฟมิลี่ จำกัด. วิทยานิพนธ์ รป.ม. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

นพรัตน์ หมอทรัพย์. (2556). ลักษณะภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าสถานีอนามัยที่มีผลต่อบรรยากาศองค์การของสถานีอนามัยในจังหวัดราชบุรี. วิทยานิพนธ์ วท.ม. นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหิดล.

พิชาภพ พันธุ์แพ. (2554). ผู้นำกับการจัดการเปลี่ยนแปลง = Leadership and change management. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เพ็ชรัตน์ ทุมมาจันทร์. (2554). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารกับบรรยากาศองค์การของโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาหนองคาย. วิทยานิพนธ์ ค.ม. อุดรธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.

เพ็ญพร ทองคําสุก. (2553). ตัวแบบสมการโครงสร้างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. วิทยานิพนธ์ ปร.ด. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

พรนภา เลื่อยคลัง. (2558). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนที่ส่งผลต่อบรรยากาศองค์การของโรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดฉะเชิงเทรา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

ไพจิตร งิ้วสุภา. (2556). ปัจจัยด้านแรงจูงใจที่ส่งผลการมีภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1. วิทยานิพนธ์ ค.ม. สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

วิทยา วงศ์ติณชาติ. (2553). ความสัมพันธ์ของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงกับการสร้างแรงจูงใจของผู้บริหาร เทศบาลตำบลในจังหวัดชุมพร. วิทยานิพนธ์ รป.ม. เพชรบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี.

วรนุช รักธรรม. (2558). การศึกษาบรรยากาศองค์การของโรงเรียนมัธยมศึกษาสหวิทยาเขตชลบุรี 2 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18. งานนิพนธ์ กศ.ม. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

ศุภรัตน์ บัวหลวง. (2550). ปัจจัยที่สัมพันธ์กับภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษา จังหวัดร้อยเอ็ด. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. มหาสารคาม:มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 2. (2561). แผนปฏิบัติการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 2. ชลบุรี: สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 2.

สุพรรณิกา สุบรรณาจ. (2560). ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3. วิทยานิพนธ์ ค.ม. บุรีรัมย์: มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.

เสกสรร สารณีย์. (2556). บุคลิกภาพของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาหนองคาย. วิทยานิพนธ์ ค.ม. อุดรธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.

สมพร จำปานิล. (2550). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาขอนแก่น เขต 5. วิทยานิพนธ์ ค.ม. เลย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.

Bass, B. M. (1985). Leadership and performance beyond expectations. New York: Press.

Bass, B. M., & Avolio, B. J. (1994). Transformational Leadership Development. Pola Alto, California: Consulting Psychologists.

Burns, J. (1978). Leadership. New York: Harper & Row.

Costa, P. T., & McCrae, R. R. (1992). Revised NEO Personality Inventory and NEO Five Factor Inventory Professional Manual. Odessa FL: Psychological Assessment Resources.

Halpin, A.W., & Croft, D. B. (1963). The Organizational Climate of School. Chicago: University of Chicago Press.

Krejcie, R. V., & Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research activities. Education and Psychological Measurement, 30(3), 607 - 610.

Likert, R. (1967). The human organization: It’s management and value. New York: McGraw-Hill.

McClelland, D. C. (1953). The achievement motive. New York: Appleton-Century Crofts, Inc.