การพัฒนาคู่มือการนิเทศภายในของโรงเรียนในเครือข่ายท่าฉาง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 2

Main Article Content

ศุภรัตน์ จิระโสภา
โสภณ เพ็ชรพวง
นัฏจรีย์ เจริญสุข

Abstract

The purposes of this research were to: 1)examine the problems of internal supervision and learning management, 2) to develop an internal supervision manual, and 3)to implement the developed internal supervision manual for schools in Thachang Network under the Suratthani Primary Educational Service Area Office 2. The research procedure consisted of three steps as follows: Step 1: Investigation on problems of internal supervision and learning management. The samples were 134 respondents, including school administrators and teachers, selected by simple random sampling. The research instrument was a set of questionnaires with a reliability of 0.91. Data were analyzed by using basic statistical tools including mean and standard deviation; Step 2: Development of the internal supervision manual in terms of content validity with five experts; Step 3: Implementation of the internal supervision manual. The key informants included a teacher as a head of academic affairs from each school, yielding a total of 17 respondents. The instrument was an assessment form for the consistency of the developed manual, which yielded a reliability of 0.89. Data were analyzed by using basic statistical tools, including mean and standard deviation. The research findings were as follows: 1) The problems of school internal supervisions were at a moderate level which were ranked in descending order: internal supervision activities, internal supervision guidelines, internal supervision tools, and internal supervision evaluation. 2) The problems of learning management as a whole were at a moderate level which were ranked in descending order: various teaching methods, learning management according to the 21st century, active learning approach, creativity-based learning management, problem-based learning management, and brain-based learning management. 3) The developed manual consisted of Chapter 1 Introduction; Chapter 2 School Internal Supervision; Chapter 3, Learning Management Models; and Chapter 4 Summary. The results regarding the consistency of the manual evaluated by the experts revealed that all components showed the consistency index of 0.50 or above. 4) The results after the implementation showed that the appropriateness of the manual was at the highest level in overall ranking in descending order: design, language use, book format, contents, and content management.

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

กรรณิการ์ วิมุติการ. (2558). การพัฒนาคู่มือการนิเทศภายในของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในจังหวัดสุราษฎร์ธานี. ภาคนิพนธ์ ค.ม. สุราษฎร์ธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.

ขัณธ์ชัย อธิเกียรติ. (2558). การสอนแบบทันสมัยและเทคนิควิธีสอนแนวใหม่. เข้าถึงได้จาก http://regis.skru.ac.th/RegisWeb/datafiledownload/25590714-15.pdf. 10 พฤษภาคม 2562.

จารุวรรณ ภู่ระย้า. (2558). บทบาทครูในศตวรรษที่ 21. เข้าถึงได้จาก https://rameemy.wordpress.com/2015/08/10. 10 พฤษภาคม 2562.

ทัศนกร โนทัย. (2559). การดำเนินงานนิเทศภายในโรงเรียนวังสมบูรณ์วิทยาคมสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

บุญจันทร์ รุ่งฟ้า. (2558). การพัฒนาคู่มือการนิเทศภายในของโรงเรียนในอำเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎร์ธานี. ภาคนิพนธ์ ค.ม. สุราษฎร์ธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.

ปราณี หลําเบ็ญสะ. (2559). การหาคุณภาพของเครื่องมือวัดและประเมินผล. ยะลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

พิชาพัชญ์ เครือสิทธินนท์. (2556). การพัฒนาคู่มือการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในโรงเรียนนานาชาติ เอส ซี แอล อำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี. ภาคนิพนธ์ ค.ม. สุราษฎร์ธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.

พิทักษ์ นิลนพคุณ. (2556). ทฤษฎีการสอน ประมวลสาระชุดวิชาการพัฒนาระบบการจัดการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

วัชรา เล่าเรียนดี. (2556). ศาสตร์การนิเทศการสอนและการโค้ชการพัฒนาวิชาชีพ : ทฤษฎีกลยุทธ์สู่การปฏิบัติ. (พิมพ์ครั้งที่ 12). นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์.

วันชัย อยู่ตรง และคณะ. (2557). การพัฒนารูปแบบการบริหารงานนิเทศภายในสถานศึกษา ระดับประถมศึกษา. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ.

สุทธิวรรณ ตันติรจนาวงศ์. (2560). ทิศทางการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21. มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, 10(2), 2843-2854.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2556). นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปงบประมาณ 2557. กรุงเทพฯ: โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จำกัด.

หะมะสูดิง มามะและคณะ. (2557). บทบาทการนิเทศภายในของผู้บริหารโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในจังหวัดยะลา. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. สงขลา: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

อนุศร หงษ์ขุนทด. (2559). วิธีการสอนตามแนวทาง CBL. เข้าถึงได้จาก https://krukobblog.wordpress.com/2016/10/09. 10 พฤษภาคม 2562.

อานุภาพ เลขะกุล. (2559). การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-Based Learning). สงขลา: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

อาหามะ ดือเร๊ะ. (2555). การบริหารงานนิเทศภายในของผู้บริหารสถานศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 2. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. ยะลา: มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา.

อุษา คงทอง. (2553). คู่มือการจัดระบบการเรียนการสอนที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้. พระศรีนครศรีอยุธยา: เทียนวัฒนา พริ้นต์ติ้ง.