ผลการจัดการเรียนรู้วิชาศิลปะ เรื่อง ศิลป์สร้างสรรค์จากวัสดุธรรมชาติ โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้ 5Es ร่วมกับเทคนิคการสอนโดยใช้เกม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3

Main Article Content

สุนทรี ทมกระโทก
ศิริพงษ์ เพียศิริ

Abstract

The purposes of this research were: 1) to examine the effects of art learning management in creative art subject on the topic of Creative Arts from Natural Materials using 5 Es learning model with game instructional technique for Prathomsuksa 3 students with mean scores not less than 70 percent and passed the criteria of 70 percent or above; and 2) to examine the satisfaction of students toward the developed learning management. The target group in this research was 20 of Prathomsuksa 3 students at Banphra school, Nakhon Ratchasima Province, under the Primary Education Service Area Office 2, studying in the second semester of the academic year 2018. This experimental research was a One-Shot Case Study examining one student group’s learning achievement and satisfaction. The research instruments were divided into three categories: 1) The tool for the experiment stage consisted of eight lesson plans lasting 16 hours using the 5 Es learning model with game instructional technique, 2) The tool for the evaluation of the effectiveness of learning management included a form of students’ operational skills, and 3) a form of students’ satisfaction toward the developed learning management. The statistics used in the research were mean, percentage, and standard deviation.


            The results revealed that:


  1. The students’ learning achievement had mean scores of 75.06 percent, and reached a 100 percent of passed criteria which was higher than the specified criteria as of 70 percent of students having learning achievement of at least 70 percent.

        2. All satisfaction aspects of students were at the highest level ranging from high to low satisfied levels: Teacher roles with a mean score of 4.78, followed by Student roles with 4.59, and Learning activities with 4.56 of mean scores.

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

กรมวิชาการ. (2546). แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ: คณะอนุกรรมการพัฒนาคุณภาพวิชาการ กลุ่มกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน.

กลุ่มส่งเสริมการเรียนการสอนและประเมินผล. (2548). การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและวัสดุภัณฑ์.

ชลสีต์ จันทาสี. (2543). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์และความสามารถในการตัดสินใจอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการสอนโดยใช้ชุดกิจกรรมการจัดสินใจทางวิทยาศาสตร์กับการสอนตามคู่มือครู. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ณฐกรณ์ ดําชะอม. (2553). ผลการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบ 5E และวิธีการทางประวัติศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนประวัติศาสตร์และการคิดอย่างมีวิจารณญาณ. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ดาวรุ่ง อยู่ยั่งยืน. (2556). การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es) ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคิดสร้างสรรค์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ดวงเดือน เทศวานิช. (2535). หลักสูตรและการจัดการประถมศึกษา. กรุงเทพฯ: ภาควิชาหลักสูตรและการสอน วิทยาลัยครูพระนคร สหวิทยาลัยรัตนโกสินทร์.

ทิศนา แขมมณี. (2551). ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

รัชฎา ศีลมั่น. (2552). การประยุกต์ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ 5E เพื่อพัฒนาสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 69 คลองหลวง จังหวัดปทุมธานี. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

วันดี จูเปี่ยม. (2558). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เมื่อใช้การจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบ 5E ของนักเรียนระดับชั้นระถมศึกษาปีที่ 6. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สมจิตร สวธนไพบูลย์. (2541). เอกสารคำสอนวิชา กว 571 ประชุมปฏิบัติการสอนวิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.

สุวัฒน์ นิยมค้า. (2531). ทฤษฎีและการปฏิบัติในการสอนวิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้. กรุงเทพฯ: เจเนอรัลบุคส์ เซ็นเตอร์.

สำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ 2542. กรุงเทพฯ: คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา.

สิทธิพล อาจอินทร์. (2557). การพัฒนาหลักสูตร. ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

อารี พันธ์มณี. (2540). คิดอย่างสร้างสรรค์. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: ต้นอ้อ.

Budnitz, N. (2003). What do we mean by inquiry. Available from http://www.biology.duke.edu/cibl/inquiry/ what_ is_inquiry.htm. June 12th, 2018,

Good, C.V. (1973). Dictionary of Education. New York: McGraw-Hill Book.

Hogan, K. & Berkowitz, A.R. (2000). Teachers as inquiry learners. Journal of Science Teacher Education, 11(1), 1-25.

Massialas, C. & Benjamin, C. (n.d.). Inuir in Social Studies. New York: John Wiley & Sons.

Wu, H. & Hsieh, C. (2006). Developing sixth grades’ inquiry skills to construct explanations in inquiry-based learning environment. International Journal of Science Education, 28(11), 1289-1313.