การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้ปัญหาเป็นฐานในรายวิชาเคมี 3 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนสมุทรสาครวิทยาลัย จังหวัดสมุทรสาคร

Main Article Content

ศิริสุข ถนาวรณ์
อินทิรา รอบรู้

Abstract

The purposes of this research were to develop blended learning activities by using problem-based learning in Chemistry 3 subject focusing on students’ learning achievement and problem-solving abilities, which were drawn from two student groups after they had participated in blended learning activities based on problem-based learning and a conventional teaching method in Chemistry 3 subject. The blended learning activities consisted of six learning steps: problem identification, understanding problems, learning and exploration, learning synthesis, summary and evaluation, and work result presentation and evaluation. The participants consisted of two classes, obtained through cluster random sampling, from Mathayomsuksa 5/3 and 5/4 in the second semester of the academic year 2018 at Samutsakhon Wittayalai school, Samutsakhon Province. The first student group learned through the blended learning activity based on problem-based learning, while the other student group learned through a conventional teaching method. The data was derived from a learning achievement test and an aptitude test in terms of problem-solving abilities. Statistics for data analysis were mean, standard deviation (S.D.), and t-test.


            The findings were as follows:


  1. The E1/E2 efficiencies of the blended learning activity based on problem-based learning in a
    Chemistry 3 subject for the Mathayomsuksa 5 students were 85.48/86.52, which met the required criteria of 85/85.

  2. The students’ learning achievement in Chemistry 3 subject of the student group learning with the

blended learning activity based on problem-based learning reached higher scores than the student group learning through the conventional teaching method at a significant difference of .05 level.


  1. The problem-solving ability of the students learning through the developed learning activity reached

higher scores than the student group learning through the conventional teaching method at a significant difference of .05 level.

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.

. (2545). การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว.

กรมวิชาการ. (2553). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2553. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.

จิราพรรณ บุญญานุสนธิ์. (2554). การจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานเพื่อพัฒนาความเข้าใจเชิงมโนมติและทักษะการแก้ปัญหา เรื่องปริมาณสารสัมพันธ์. วิทยานิพนธ์ วท.ม. อุบลราชธานี: มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.

ชัยยศ จระเทศ. (2558). การส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนวาปีปทุม. วิทยานิพนธ์ ค.ม. มหาสารคราม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคราม.

พิสิษฐ์ สุวรรณแพทย์. (2557). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมสานโดยใช้ปัญหาเป็นฐานและการเรียนรู้แบบสืบสอบเพื่อเสริมสร้างความคาดหวังวิชาฟิสิกส์สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี. วิทยานิพนธ์ ศษ.ด. นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

มัณฑรา ธรรมบุศย์. (2557). การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้โดยใช้ PBL (Problem-Based Learning), วารสารวิชาการ, 5(2), 11-17.

ยุรวัฒน์ คล้ายมงคล. (2545). การพัฒนากระบวนการเรียนการสอนโดยประยุกต์แนวความคิดการใช้ปัญหาเป็นหลักในการเรียนรู้เพื่อเสริมสมรรถภาพทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่มีความสามารถพิเศษทางคณิตศาสตร์. วิทยานิพนธ์ ค.ม. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ราตรี เกตบุตตา. (2552). ผลของการเรียนแบบใช้ปัญหาเป็นหลักต่อความสามารถในการแก้ปัญหาและความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา. วิทยานิพนธ์ ค.ม. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วิทยา หล่อศิริ. (2556). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานเพื่อพัฒนาทักษะการคิดแก้ปัญหาและการตัดสินใจสำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรีในสถาบันการพลศึกษา. วิทยานิพนธ์ ศษ.ด พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.

สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน). (2559). รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (o-net) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6. เข้าถึงได้จาก http//www.niets.or.th. 12 พฤษภาคม 2561.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). แผนการศึกาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.

สุวพร พาวินิจ. (2555). การพัฒนาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร โดยใช้กระบวนการสอนแบบสืบเสาะหา ความรู้และแผนผังมโนทัศน์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่1. วิทยานิพนธ์ ค.ม. สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

อำพร ไตรภัทร. (2555). คู่มือการเรียนการสอน การคิดวิเคราะห์ วิจารณ์. ขอนแก่น: ขอนแก่นการพิมพ์.

อินทิรา รอบรู้. (2553). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง. วิทยานิพนธ์ ปร.ด. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.

Barraws, H.S. (1985). How to Design a Problem-based Curriculum for the Preclinical Years. New York: Springer.

Barrows, H.S. & Tamblyn, Roblyn M. (1980). Problem Based Learning: An Apprpach to Medical Education. New York: Spinger.

Kamel, Serif & Wahba, Khaled. (2003). The Use of a Hybrid Model in Web based Education: the Global Campus Project. Web-based Education: Learning form Experience. London: Hershey.

Pearcy, Agnes Goz. (2010). Finding the Perfect Blend: A Comparative Study of Online, Face-to-Face, and Blended Instruction. Dissertation Abstract International, 70, 3385806.

Sankey, Michael. (2005). Maintaining a Balance Whilst Building Momentum: Designing for Millennial Learners and Everyone Else. Ascilite 2005 Conference: Balance, Fidelity, Mobility: Maintaining the Momentum? Queensland University of Technology.

Skill, Thomas D & Young, Brian A. (2002). Embracing the Hybrid Model: Working at the Intersections of Virtual

and Physical Learning Spaces. The Importance of Physical Space in Creating Supportive Learning Environments. 23-32. New Directions for Teaching and Learning No.92. San Francisco: Jossey Bass.

Weir, John Joseph. (1974, April). Problem Solving Is Everybody’s Problem. Science Teacher, 4, 16-18.

Woods. (2004). Problem-based learning and problem solving. AUBE conference, University of Technology Sydney, South Wales.