การออกแบบชุดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดการออกแบบย้อนกลับ รายวิชาเคมีเพิ่มเติม ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนบางพลีราษฎร์บำรุง จังหวัดสมุทรปราการ

Main Article Content

กิริตา ถนาวรณ์
อินทิรา รอบรู้

Abstract

The purposes of this research were to examine the efficiency of a learning activity package based on a backward design concept in the Additional Chemistry Subject; to compare the learning achievement of the students learning through the developed learning activity package based on backward design concept and the students learning through a conventional teaching method; and to examine the students’ attitudes towards the developed learning activity package. The samples consisted of two classes of 88 Mathayomsuksa 6 students of Science-Mathematics Study Plan, enrolled in the second semester of the academic year 2018 at Bangpleeratbamrung School, Samutprakarn Province. The research tools consisted of a learning activity package based on a backward design concept using a Big 5 learning method, a learning achievement test and a set of opinion questionnaires. Statistics for data analysis were mean, percentage, standard deviation, and t-test.


The findings were as follows:


  1. The developed learning activity package based on a backward design concept in Additional Chemistry Subject reached an efficiency of 85.43/85.07, which met the defined criteria of 85/85.

  2. The learning achievement of students learning through the developed learning activity package after the intervention was higher than the student group learning through the conventional teaching method with a statistical significance level of .05.

       3. The opinions of students learning through the developed learning activity package in overall were at the highest level.

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: องค์การรับส่งสินค้า และพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.).

. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

กิติศักดิ์ เทียนทองศิริ. (2559). การพัฒนาชุดการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและสมบัติของสารสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

ชนากานต์ โชติพิรัตน์. (2557). การพัฒนาชุดการสอนวิทยาศาสตร์เรื่องระบบนิเวศ สำหรับนักเรียนชั้น ม.3. วิทยานิพนธ์ ค.ม. สุราษฎร์ธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.

ชัยยงค์ พรหมวงศ์ และคณะ. (2535). “แนวคิดในการผลิตชุดการสอน”. ใน เอกสารประกอบการสอนชุดวิชาเทคโนโลยีและการสื่อสารการศึกษา. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

. (2551). ประมวลสาระชุดวิชาการพัฒนาหลักสูตรและสื่อการเรียนการสอน. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ทิพรัตน์ สิทธิวงศ์ และทะเนศ วงศ์นาม. (2559). การศึกษาผลการใช้กิจกรรมการเรียนการสอนด้วยขั้นบันได 5 ขั้น (QSCCS). วิทยานิพนธ์ กศ.ม. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.

ธงชัย ต้นทัพไทย. (2548). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และค่านิยมการบริโภคอาหารของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่สอนโดยใช้ชุดกิจกรรมพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ ประสานมิตร.

นูร์อัลวานี มอลอ. (2555). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ เรื่อง คลื่น ที่ออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับกับการออกแบบการเรียนรู้ตามคู่มือครูของ สสวท. ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. สงขลา: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

บุญเกื้อ ควรหาเวช. (2543). นวัตกรรมการศึกษา. กรุงเทพฯ: เอส อาร์ พริ้นติ้ง.

พิมพันธ์ เดชะคุปต์. (2553). กระบวนการออกแบบย้อนกลับ : การพัฒนาหลักสูตรและออกแบบการสอนอิงมาตรฐาน. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ภานุวัฒน์ เปรมปรี. (2556). พัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ระบบนิเวศน้ำจืด สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนประเทียบวิทาทาน จังหวัดสระบุรี. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

วิภาวี บุตรธรรม. (2552). การนำเสนอรูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บวิชาวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดการออกแบบย้อนกลับ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์ ค.ม. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ. (2555). คู่มือแผนการจัดการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. กรุงเทพฯ: พัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำกัด.

สมโชค เมืองเมฆ สัพัฒน์ มูลสิน และวุฒิกร จันทร์มาก. (2560). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อการเรียนวิชาเคมี เรื่อง กรด-เบส ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยการจัดการเรียนรู้แบบค้นพบร่วมกับเทคนิคแบบร่วมมือ. การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยบัณฑิตศึกษา ระดับชาติและนานาชาติ 2560 (NIGRC KKU-2017) วันที่ 10 มีนาคม 2560. อาคารพจน์ สารสิน มหาวิทยาลัยขอนแก่น, หน้า 1647-1661.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2553). คู่มือการพัฒนาหลักสูตรและการสอน. กรุงเทพฯ: สำนักงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2553). ข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษาในศตวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552-2561). กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.

อภิญญา ซื่อตระกูลพานิชย์. (2550). ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้วิธีการสอนแบบโครงงานวิทยาศาสตร์. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

Best, John W. (1977). Research in Education. (3rd ed.). Englewood Cliffs, New Jersey: Prentice Hall, Inc.

Freedman, Michael P. (1997). Relationship among Laboratory Instruction, Attitude toward Science, and Achievement in Science Knowledge. Journal of Research in Science Teaching, 34(4), 343–357.

Herrisberger, Lee. (1973). Self – Pace Individually Presexlibed Instruction. Personalized System of Instruction. Philippines: WA Benjamin Inc.

Wiggins, Grant & McTighe, Jay. (1998). Understanding by Design. Alexandria. VA: ASCD.

. (2005). Understanding by Design. (2nd ed.). Upper Saddle River, New Jersey: Prentice Hall.