ผลการจัดการเรียนรู้รายวิชาทัศนศิลป์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานร่วมกับแนวคิดห้องเรียนกลับทาง

Main Article Content

มณฑณัช บุญปลูก
ศิริพงษ์ เพียศิริ

Abstract

The purposes of this research were: 1) to examine the effects of visual art learning management using project-based learning integrating with flipped classroom concept for Mathayomsuksa 5 students achieving mean scores of at least 80 percent and students passing the set criteria of 80 percent or above, and 2) to investigate student satisfaction toward the developed learning management. The experimental research design was conducted with a sample group of 30 students of Mathayomsuksa 5 in the second semester of the academic year 2018, selected through purposive sampling. The research tools consisted of: 1) ten lesson plans lasting 15 hours, 2) learning management medias based on flipped classroom concept, 3) a performance evaluation form, 4) a work behavior observation form, and 5) a satisfaction questionnaire. The statistics employed to analyze the collected data were percentage, mean and standard deviation.


            The findings were as follows:


  1. The effects after the intervention revealed that 30 students gained mean scores of 3.61 or 90.25 percent with standard deviation (S.D.) of 0.11, while 28 students with a percentage of 93.33 met the requirements which was higher than the specified criteria.

            2. The student satisfaction toward the developed learning management achieved the highest mean score in terms of benefits received, with a mean score of 4.73, S.D. = 0.44, followed by learning activities with a mean score of 4.70, S.D. = 0.46, and atmosphere with a mean score of 4.53, S.D. = 0.50 respectively. The student satisfaction result showed mean scores of 4.65 overall, which were at the highest level of quality.

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.

ชาญ จารุวงศ์รังสี. (2551). ผลของการสอนวาดภาพระบายสีด้วยวิธีซินเนคติกส์ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนศิลปะของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ ค.ม. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ดุษฎี โยเหลา และคณะ. (2557). การศึกษาการจัดการเรียนรู้แบบ PBL ที่ได้จากโครงการสร้างชุด ความรู้เพื่อสร้างเสริมทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ของเด็กและเยาวชน : จากประสบการณ์ ความสำเร็จของโรงเรียนไทย. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัดทิพย์วิสุทธิ์.

วชิร วชิรวัฒก์. (2559). ผลการจัดการเรียนรู้ด้วยห้องเรียนกลับทางร่วมกับกระบวนการเขียนโปรมแกรมเพื่อส่งเสริมการแก้ปัญหา. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

วรรณวิไล หงส์ทอง. (2551). การพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

วัฒนา มัคคสมัน. (2551). การสอนแบบโครงงาน. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วิจารณ์ พานิช. (2557). ครูเพื่อศิษย์สร้างห้องเรียนกลับทาง. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: บริษัท เอส.อาร์.พริ้นติ้ง แมสโปรดักส์ จำกัด.

วิโรจน์ สารรัตนะ. (2556). กระบวนทัศน์ใหม่ทางการศึกษากรณีทัศนะต่อการศึกษาศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: หจก.ทิพยวิสุทธิ์.

สิทธิพล อาจอินทร์ และธีรชัย เนตรถนอมศักดิ์. (2554). การจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงการเป็นฐานในรายวิชาการพัฒนาหลักสูตร สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี หลักสูตร 5 ปี. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยขอนแก่น, 1(1), 1-16.

สุรศักดิ์ ปาเฮ. (2556). ห้องเรียนกลับทาง: ห้องเรียนมิติใหม่ในศตวรรษที่ 21. เข้าถึงได้จาก http://phd.mbisc.ac.th/academic/flippedclassroom2pdf. 13 พฤศจิกายน 2561.

Bergman, J. & Sams, A. (2007). Flip Your Classroom: Reach Every Student in Every Class Every Day. International Society for Technology in Education.

Kong, L.N., & et al. (2014). The effectiveness of problem-based learning on development of nursing students’ critical thinking: A systematic review and meta-analysis. International Journal of Nursing Studies. 51, 458-469.

Moti, Frank, Abigail & Barzilai. (2006). Project-Based Technology: Instructional Strategy for Developing Technological Literacy. Journal of Technology Education, 18(1), 38-52.